Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ถอดบทเรียนจากชุมชนต้นแบบ, นางสาวองุ่น กาศสกุล รหัส 603901044 เลขที่ 44,…
ถอดบทเรียนจากชุมชนต้นแบบ
คุณลักษณะที่สะท้อนถึงชุมชนเข้มแข็ง
1.สมาชิกหรือประชาชนในชุมชนรวมตัวกันทำกิจกรรม มีการรวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชน
มีการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนการบริหารจัดการด้วยตนเอง
มีกระบวนการจัดการชุมชนแก้ไขปัญหาของชุมชน เช่น ปัญหาต้นทุนทางการเกษตรที่สูงและปัญหาทางด้านสุขภาพไม่ดีจากการใช้สารเคมี เป็นต้น
4.แต่ละครอบครัวสามารถพึงพาตนเองได้
6.มีเครือข่ายในการเรียนรู้ภายในหมู่บ้านโดยเกิดจากการมีส่วรร่วมของชุมชน
มีการผสมผสานความร่วมมือจากหลายแหล่ง เช่น ที่ดิน กระทรวงศึกษา ท้องถิ่น เป็นต้น
8.มีความรู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนมีการเรียนรู้ มีการจัดการและการแก้ปัญหาร่วมกันของชุมชน
มีการแก้ปัญหาร่วมกันจนเกิดการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
10.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่สูญเสียลักษณะเฉพาะของชุมชน
แนวคิดและหลักการที่ใช้ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
ทำให้ชีวิตสมบูรณ์
มีความสุข
ช่วยเหลือตนเองได้
ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
ทำแล้วเกิดประโยชน์จึงขยายให้ผู้อื่นได้เห็นว่ามีประโยชน์
กระบวนการในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
มีการดำเนินงานในชุมชนที่มีการ จัดกิจกรรมต่างๆ ภายในชุมชน โดยชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการเอง
บูรณาการการทำงานกับหน่วยงานต่างๆ ภายใน ชุมชน
นำประเด็นที่คิดว่าเป็นประโยชน์มานั่งคุยกัน จนยอมรับและนำไปพัฒนาตนเอง
เปิดแหล่งเรียนรู้ให้ชาวบ้านและหน่วยงานอื่นมาเรียนรู้ เช่น ที่ดิน กระทรวงศึกษา ท้องถิ่น เป็นต้น
เปลี่ยนแนวคิดของคนก่อนว่าทำอย่างไรให้พึงพาตนเองได้และไม่เบียดเบียนผู้อื่น
คัดสรรคนที่จะเข้ามาเรียนรู้เติมเต็มความรู้ให้และให้เป็นต้นแบบให้ได้แล้วขยายผลสามารถที่จะเป็นต้นแบบให้กับผู้อื่นได้ ค
กลวิธีและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
การกำหนดประเด็นปัญหาของชุมชนและการพัฒนาทางเลือก
นำประเด็นที่คิดว่าเป็นประโยชน์มานั่งคุยกัน จนยอมรับและนำไปพัฒนาตนเอง ประเด็นปัญหาที่พบ เช่น ปัญหาการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชส่งผลต่อต้นทุนในการทำการเกษตรที่สูงรวมถึงปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชน
กระตุ้นให้เห็นประโยชน์ด้วยตัวเองหากเมื่อทำแล้วเกิดประโยชน์จึงจะมีขยายให้ผู้อื่นได้เห็นว่ามีประโยชน์
ชุมชนมีการคิดริเริ่มในการทำกิจกกรมเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนจากทุกภาคส่วน เช่น โรงเรียน ท้องถิ่น ส่วนราชการ เป็นต้น
3.การสร้างหุ้นส่วนในระดับชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือ
มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยการบริหารจัดการภายในชุมชน
มีการทำงานที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น ท้องถิ่น ที่ดิน กระทรวจศึกษา หมอดินอาสา กรมตรวจบัญชีเกษตรกร เป็นต้น
มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน และจากภายนอกชุมชน
1การเตรียมคน และโครงสร้างทางกายภาพ
เชิญชวนชาวบ้าน คัดสรรคัดสรรคนที่จะเข้ามาเรียนรู้เติมเต็มความรู้และให้เป็นต้นแบบให้ได้แล้วขยายผลไปสู่คนในชุมชน
มีการเตรียมพื้นที่ใช้สำหรับเป็นศูนย์รวมใจหรือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชน โดยใช้พื้นที่นั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เปลี่ยนแนวคิดของคนก่อนว่าทำอย่างไรให้พึงพาตนเองได้และไม่เบียดเบียนผู้อื่น
ดำเนินกิจกรรมในชุมชน
เปิดโอกาสให้ทุกคนมามีส่วนร่วมกับกิจกรรมภายในศูนย์การเรียนของชุมชน เช่น หน่วยงานราชการ โรงเรียน เป็นต้น
มีการนำกิจกรรมที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในครัวเรือน เช่น การปลูกถั่วงอก การปลูกผัก การทำน้ำหมัก โดยเน้นการนำไปใช้ในชีวิตก่อนหลังจากนั้นหากได้ผลดีก็พัฒนาทำเป็นอาชีพหารายได้ให้กับครอบครัว
มีหลักสูตรในการอบรมให้กับบุคคลทั่วไปเข้ามาเรียนรู้โดยเตรียมร่างกายและจิตใจที่พร้อมจะเรียนรู้
มีการปรับใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มากับครอบครัวของตนเองจนทำให้ผู้อื่นเห็นผลของการทำกิจกรรมนั้น
การเลือกใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว และชุมชน
ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม
ด้านการเรียนรู้และการถ่ายทอดองค์ความรู้
ด้านการรวมกลุ่มกิจกรรม
ด้านการสร้างเครือข่าย
ด้านผู้นํา
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ทำงานภายใต้ความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ในชุมชน
ด้านการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง
มีการสร้างจิตสํานึกรักถิ่นฐานของคนในชุมชน
ปัจจัยภายในและภายนอกชุมชนที่มีผลต่อความสำเร็จในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว และชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมชุมชน
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการจัดการชุมชน
ระบบความสัมพันธ์
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ผู้นำชุมชน
นางสาวองุ่น กาศสกุล รหัส 603901044 เลขที่ 44