Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.กลุ่มอาการที่เกิดจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว…
4.กลุ่มอาการที่เกิดจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว
ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
Postural Hypotension
ผลของการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวที่สำคัญและมีผลต่อผู้สูงอายุค่อนข้างมาก ได้แก่ ภาวะความดันเลือดลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าทาง
การป้องกัน
แนะนำผู้สูงอายุให้ได้รับสารน้ำในที่ปริมาณพอเพียง ปรับลดยาที่มีผลต่อความดันในเลือดแนะนำการออกกำลัง
ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน
อาการของหลอดเลือดดำอุดตัน ได้แก่ ขาบวม ปวด ร้อนขาอาจจะมีสีแดงหรือมีสีขำตรวจพบ Homans sign เมื่อตรวจพบและสงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีภาวะหลอดเลือดดำอุดตันควรส่งตรวจเพิ่มเติม
Radionuclide venography
Contrat venography
Dopler utrasound
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการอยู่นิ่งเป็นเวลานานเป็นสิ่งสำคัญที่สุดการลูกหนังและออกกำลังเก่งกล้ามเนื้อน่องโดยการกระดกข้อเท้าขึ้นลงเป็นการป้องกันที่ได้ผลเช่นกัน
ประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลง
เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่ได้ออกกำลังกาย ผู้ที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกายหัวใจขณะพักจะมีอัตราการเต้นหัวใจเพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งครั้งต่อนาทีในทุก2วัน
การป้องกันและดูแลภาวะถดถอย
1.ออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา
2.การใช้ผ้ายืดพันขาผู้ป่วยเป็นระยะ
3.การใช้เครื่องรถบวมบีบใส่สารน้ำที่ขา (extenal intermlttent leg compression )
4.ยกขาสูงเล็กน้อยในขนาดนอนราบ
5.ในรายที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดหลอดเลือดดำอุดตันให้ยา low-dose warfarin หรือ sucutaneout heparin therapy
6.กระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว
ต่อระบบประสาท
การป้องกัน
การให้ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารที่เพียงพออาหารกากใยฝึกการขับถ่ายเป็นเวลาลดการใช้ยาที่มีผลข้างเคียงที่ทำให้ท้องผูกส่วนการใช้ยาถ่ายควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
การดูแลภาวะถดถอย
1.เปลี่ยนถ้าผู้สูงอายุบ่อยบ่อยและจากท่าทางที่เหมาะสม
2.ให้ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
3.พิจารณาใช้ที่นอนหรือเบาะรองพิเศษ
4.ถ้ามีแพ้กดทับที่ไม่ติดเชื้อควรทำแผลแบบ moist wund care เช่น การใช้ hydrocolloil dressing
ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
การป้องกัน
จัดผู้สูงอายุให้อยู่ในท่านั่งบ่อยๆช่วยเหลือให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองได้พยายามจัดถ้าให้ผู้สูงอายุเป๋าสวในท่านั่งหลีกเลี่ยงการถ่ายปัสวะในท่านอน
การดูแลภาวะถดถอย
1.ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
2.พยายามจัดให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนในขณะปัสสาวะ
3.สวนปัสสาวะเป็นระยะ
4.เมื่อตรวจพบผู้ป่วยมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ต่อระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ข้อติด
อาจเกิดจากเนื้อเยื่อเกี่ยว 1000 รอบข้อเอ็นกล้ามเนื้อเอ็นข้อต่อกล้ามเนื้อ เมื่อไม่มีการเคลื่อนไหวเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เลี้ยงตัวกันหลวมๆ
กระดูกบางหรือพรุน
ซึ่งภาวะกระดูกพรุนนี้จะเกิดขึ้นช้าๆในระยะแรกผู้ป่วยจะไม่มีอาการใดๆจนกระทั่งกระดูกหัก การป้องกันสามารถทำได้โดยการออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก ได้แก่ การยืน เดินและออกแรงเกร็งกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อฝ่อลีบและอ่อนแรง
เมื่อรถกิจกรรมหรือจำกัดการเคลื่อนไหวความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลงประมาณร้อยละ 1-3 ต่อวัน กล้ามเนื้อที่มีปัญหาอันดับต้นๆ คือกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อที่ออกแรงต้านแรงโน้มถ่วงโลก
ข้อเสื่อม
เมื่อเกิดภาวะจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกายกระดูกอ่อนจะได้รับสารอาหารจากการซึมผ่านไม่เพียงพอก็ให้เกิดภาวะข้อเสื่อมมากขึ้นตามมา
การดูแลภาวะถดถอย
5.การป้องกันการเกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อยึดติด
1.การจัดท่าทางที่เหมาะสม เช่น ไม่นำหมอนรองใต้เขาผู้สูงอายุเป็นประจำ
2.ฝึกการเคลื่อนไหวตนเอง และ/หรือ การเดิน
3.ออกกำลังกายเพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น 10-15 นาที อย่างน้อย3ครั้งต่อสัปดาห์
4.ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ต่อระบบทางเดินอาหาร
การป้องกัน
การให้ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารที่เพียงพออาหารกากใยฝึกการขับถ่ายเป็นเวลาลดการใช้ยาที่มีผลข้างเคียงที่ทำให้ท้องผูกส่วนการใช้ยาถ่ายควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
การดูแลภาวะถดถอย
1.ให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
2.ลดหรือเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลข้างเคียงทำให้ท้องผูก
3.กระตุ้นผู้สูงอายุขับถ่ายเป็นเวลา
4.กระตุ้นผู้สูงอายุให้เริ่มทำกิจกรรมร่างกายและยืนเดิน
5.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
6.พิจารณายาถ่ายเมื่อจำเป็นและด้วยความระมัดระวัง
ต่อระบบผิวหนัง
การป้องกันแผลกดทับ
ทำได้โดยการลดแรงกดทับบริเวณเดิมนานๆ โดยการพลิกตะแคงตัวอย่างน้อยทุก2-3 ชั่วโมงส่วนผู้สูงอายุที่นั่งนานหรือใช้รถเข็นจำเป็นต้องจัดเปลี่ยนท่าทุก 1 ชั่วโมง แนะนำผู้สูงอายุเปลี่ยนท่าโดยการเปลี่ยนถ่ายน้ำหนักทุก 15 นาที
การดูแลภาวะถดถอย
1.เปลี่ยนถ้าผู้สูงอายุบ่อยบ่อยและจากท่าทางที่เหมาะสม
2.ให้ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
3.พิจารณาใช้ที่นอนหรือเบาะรองพิเศษ
4.ถ้ามีแพ้กดทับที่ไม่ติดเชื้อควรทำแผลแบบ moist wund care เช่น การใช้ hydrocolloil dressing
ต่อระบบหายใจ
การป้องกัน
ทำการเปลี่ยนถ้าผู้สูงอายุบ่อยบ่อยเพื่อลดการข้างของเสมหะในบริเวณหนึ่งนั้นนานฝึกการหายใจเข้าออกลึกลึกลึกการไอและการช่วยระบายเสมหะ
การดูแลภาวะถดถอย
1.กระตุ้นผู้สูงอายุเริ่มทำกิจกรรมและยืนเดิน
2.เปลี่ยนท่าทางบ่อยๆขณะนอนและนั่ง
3.ฝึกหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ