Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.ภาวะเปราะบางและภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย (ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย…
3.ภาวะเปราะบางและภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
แนวทางการตรวจคัดกรองและการวินิจฉัย
ในชุมชน
ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ประชากรกลุ่มเสี่ยง
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าหรือสติปัญญาบกพร่อง
ผู้ที่มีประวัติหกล้มบ่อยๆ
ผู้ที่มีน้ำหนักลดโดนไม่ตั้งใจมากกว่าร้อยละ5ในเวลา1เดือน
ผู้ที่มีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่มีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลงในช่วงเวลาไม่นานมานี้
ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง โรคถึงลมโป่งพอง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อมเรื้อรัง วัณโรค และกลุ่มอาการ chronic wasting conditions
การประเมินภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
การวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
2.Knee flexion extension เป็นวิธีที่วัดความแข็งแรงและพลังของกล้ามเนื้อ
3.Peak expiratory flow เป็นวิธีราคาถูกและทำง่ายในการใช้ PEF
1.Handgrip strength (HS) เป็นวิธีที่ริยมมากที่สุด ทำง่าย
การวัดการทำงานหรือสมรรถภาพทางกาย
2.การวัดความเร็วในการเดินปกติ วิธีนี้เป็นส่วนหนึ่งจองSPPB พอว่าสมารถใช้ตรวจทั้งในงานวิจัยและเวลปฎิบัติทั่วไปได้
3.Timed up-and-go test (TUGT) คือการวัดเวลาที่ลุกจากเก้าอี้เดินไป3เมตรแล้วหมุนตัวกลับมานั่งที่เดิม
1.Physical Performance Batteryใช้เป็นการวัดมาตรฐานทั้งทาวปฎิบัติและงานวิจัย
4.Stair climb power test วัดกำลังของกล้ามเนื้อขา มักใช้ในงานวิจัย
การตรวจมวลกล้ามเนื้อ
2.Knee flexion extension เป็นวิธีที่วัดความแข็งแรงและพลังของกล้ามเนื้อ
3.Potassium per fat-free soft tisue measurement ประเมินมวลกล้ามเนื้อได้ดี ซึ้งวิธีนี้ไม่ได้ใช้แพร่หลายในเวชปฏิบัติทั่วไป
1.Body imaging techniques มี3วิธี CT scan MRI,DXA
แนวทางการรักษา ป้องกัน ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
ใช้ยา
ยาต้านการทำงานของACE-I : ช่วยทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อดีขึ้น
คลีเอทีน : เพิ่มความแข็งแรงและมวลกล้ามเนื้อและยังเพิ่มphosphocreatine
ยังไม่มีข้อสรุปใช้รักษาภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
DHEA : เพิ่มมวลกระดูก ยังไม่มีข้อมูลผผลข้างเคียง ผลต่อขนาดของกล้ามเนื้อและความสามารถในการทำงานของกล้ามเนื้อไม่ชัดเจน
วิตามินดี : อายุมากขึ้นระดับ25(OH) Vitamin D จะลดลง มีผลให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงลดลง
ฮอร์โมนเกี่ยวกับการเจริญเติบโต : ช่วยเพิ่มการสร้างกล้ามเนื้อ ทำให้มวลกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น
ยายับยั้งไมโอสเตติน : ทำให้เซลกล้ามเนื้อใหญ่มากเกินไปและเพิ่มปริมาณเซลกล้ามเนื้อ
เทสโทสเทอโรน : ช่วยเพิ่มมวลกล้ามเนื้อและสร้างโปรตีนของกล้ามเนื้อ
ไม่ใช้ยา
การให้โภชนาการ
โปรตีน:ต้องได้รับเพียงพอเพื่อรักษาสมดุลของไนโตรเจน
วิตามินดี:ยังสรุปไม่ได้ว่าให้เสริมในผู้ป่วยที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยมีประโยชนืหรือไม่
สารต้านอนุมูลอิสระ:อาจช่วยลดการทำลายกล้ามเนื้อ แต่ยังมีข้อมูลไม่มาก
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
การหยุดแอลกอฮอร์ 6-12เดือนจะทำให้กล้ามเนื้อกลับมาปกติได้
การสูบบุหรี่ทำให้ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยเป็นมากขึ้น
ออกกำลังกาย
ทำให้ความแข็งแรงและมวลกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ยิ่งทำมากยิ่งได้ผลดี
ภาวะเปราะบาง
แนวทางการตรวจคัดกรองและการวินิจฉัย
เกณฑ์การวินิจฉัย
แนะนำให้ใช้ในการคัดกรองในชุมชนของประเทศมี 2เกณฑ์ ได้แก่ frailty phenotype และ FRALL scale
เกณฑ์ที่ยอมรับและแนะนำในการตรวจคัดกรองที่ทำได้รวดเร็วได้แก่ frailty phenotype และ gerontopole frailty
ข้อแตกต่างระหว่างภาวะเปราะบางและภาวะมวลกระดูกน้อย
ผู้ที่มีภาวะเปราะบางมักมีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
แต่ผู้ที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยบางรายมีภาวะเปราะบางร่วมด้วย
นางสาวสุขจฤณีร์ พิงไธสง 614N46225