Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.ภาวะหกล้ม (การประเมินความเสี่ยงของภาวะหกล้ม (ตรวจร่างกาย…
2.ภาวะหกล้ม
การประเมินความเสี่ยงของภาวะหกล้ม
ประเมินความสามารถ
ขณะเยี่ยมบ้าน ประเมินการใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
ให้ผู้สูงอายุแสดงความสามารถที่ต้องการตรวจ ได้แก่ การพลิกตะแคงตัว
ประเมินความสามารถโดยเครื่องมือ
ความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรุน/หัก
ตรวจร่างกาย
ตรวจเท้าและรองเท้า
ประเมินลักษณะและท่าทางการเดินการทรงตัว
ประเมินกำลังกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวของข้อ
ตรวจระบบประสาท ได้แก่ การรู้คิด
ตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินสายตาและการมองเห็น
ประเมินสภาพแวดล้อม/ความปลอดภัย
ซักประวัติ
ทบทวนปัจจัยเสี่ยง
ทบทวนยาที่ใช้ทั้งหมด
เกี่ยวกับจำนวนครั้ง สถานที่หกล้ม ลักษณะการล้ม
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ
ระยะอบอุ่นร่างกายประมาณ 10-15 นาที ลดอาการบาดเจ็บที่จะเกิดขึ้นต่อหัวใจและกล้ามเนื้อ
ระยะออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายตามชนิดที่ต้องการ ได้แก่ การเต้น การปั่นจักรยาน
ระยะผ่อนกำลังใช้เวลาประมาณ 15-30 นาทีขึ้นกับความแรงของการออกกำลังกายลด
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
ควรยืดเหยียดกล้ามเนื้อทั้งแขนและขา ทำประมาณ 8-10ท่า
ประโยชน์
ทำให้น้ำหนักลดลง กล้ามเนื้อใช้น้ำตาลได้ดีขึ้น
กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น ลดภาวะหกล้ม
ความหนาแน่นของกระดูกเพิ่มขึ้น
ลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งชนิดต่างๆ
ระดับไขมันในเลือดชนิดไม่ดีคือ LDL และไตรกลีเซอไรด์จะลดลง
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัวและขยายตัวได้ดีขึ้น
ทำให้หลอดเลือดแข็งตัวลดลงและขยายตัวได้ดีขึ้น
ทำให้นอนหลับดีขึ้น
เพิ่มภูมิคุ้มกันโรคจากเซลเม็ดเลือดขาวทำงานได้ดีขึ้น
คำแนะนำ
ใส่รองเท้าที่เหมาะสม
ดื่มน้ำให้เพียงพออย่างน้อยประมาณ250ซีซี
ผู้สูงอายุปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพและความพร้อมสำหรับการออกกำลังกาย
ใส่เสื้อผ้าที่ช่วยให้เคลื่อนไหวได้ง่าย
เลี่ยงการออกกำลังกายในสภาพอากาศที่เย็นหรือร้อนเกินไป
หยุดออกกำลังกายทันทีหากมีอาการผิดปกติ
ควรมีเพื่อนออกกำลังกายด้วย
กลไกควบคุมการทรงตัวและภาวะหกล้ม
ระบบประสาทส่วนกลาง
ทำหน้าที่ประมวลผลการรับรู้ วางแผน ตัดสินใจและสั่งการ
ระบบการเคลื่อนไหวและการตอบสนอง
กปป.ตอบสนองช้า ตอบสนองไม่เหมาะสม
คาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงของ สวล.ไม่ได้
ระบบควบคุมความรู้สึก
ระบบการมองเห็น
มีการลดลงของความคมชัด
ระบบรับความรู้สึกทางกาย
มีการลดลงของการรับความรู้สึกทางกาย
ระบบvestibularอยู่ในหุชั้นใน
ทำให้ผู้สูงอายุเกิดอาการเซได้ง่าย
การรักษาและป้องกันอย่างครอบคลุม
ที่ควรทำ
การทบทวนการใช้ยา
การแก้ไขปัญหาเรื่องการมองเห็น
การแก้ไขภาวะความดันเลือดต่ำ
การแก้ปัญหาและระบบหัวใจและหลอดเลือด
ที่น่าทำหากมีบริการ
การตรวจรักษาปัญหาที่เท้าและให้การรักษาที่เหมาะสมควร
ผู้สูงอายุควรได้รับคำแนะนำเที่ยวกับเพื่อนเท้าที่เหมาะสม
ผู้สูงอายุไม่ควรใช้ multifocal lens ในขณะเดิน
การรักษาที่ต้องทำ
การประเมินสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและปรับเปลี่ยนให้เกิดความปลอดภัย
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงการฝึกทรงตัว
ผู้สูงอายุที่สงสัยว่าขาดวิตามินดีควรได้รับวิตามินดีเสริมอย่างน้อย800 IU ต่อวัน
การให้วิตามินเสริม
การขาดวิตามินดีในผู้สูงอายุส่งผลให้กำลังและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
การใช้วิตามินดีสามารถลดภาวะหกล้มในสถานพักฟื้นได้ แต่ไม่ลดความเสี่ยงของภาวะล้ม
ปัจจัยของภาวะหกล้ม
ปัจจัยภายนอก
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดินที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม
การมาสัตย์เลี้ยงในที่อยู่อาศัย
สภาพแวดล้อมบริเวณที่พักอาศัยที่ไม่ปลอดภัย เช่น พื้นลื่น
ปัจจัยภายใน
โรคประจำตัว
ระบบกระดูกกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบประสาทและการรู้คิด
กล้ามเนื้อขาอ่อนแรง
ระบบการรับความรู้สึกผิดปกติ
การทรงตัวและการเดินบกพร่อง
เพศหญิง
ความบกพร่องของการรู้คิด
พฤติกรรมที่เสี่ยงอันตราย
อายุที่มาก
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ความกลัวภาวะหกล้ม
ประวัติเคยหกล้มมาก่อน
ผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา