Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal Care (การให้คำแนะนำ (อาการสำคัญที่ต้องมาพบแพทย์ (มีอาการ…
Antenatal Care
การให้คำแนะนำ
การพักผ่อน
-
การนอนตะแคงโดยเฉพาะข้างซ้ายเพื่อให้เลือดสามารถไหลเวียนไปเลี้ยงทารกในครรภ์ได้ดี จัดท่านอนที่สุขสบาย อาจหาหมอนเล็กมารองใต้ขาเพื่อเพิ่มการไหลเวียน
การออกกำลังกาย
ออกกำลังกายเป็นประจำ วันละ 15-30 นาที เช่น การเดิน และบริหารร่างกาย เพื่อลดอาการแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ และเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
-
การรับประทานอาหาร
อาหาร
-
แนะนำการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ย่อยง่าย ครบ 5 หมู่ในแต่ละมื้อ เพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหารเพียงพอตามที่ร่างกายต้องการ ซึ่งจะส่งผลให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตดี
-
วิตามิน
หญิงตั้งครรภ์มีความต้องการเกลือแร่ต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นจากภาวะปกติ เนื่องจากทารกในครรภ์ต้องนำเกลือแร่ต่าง ๆ ไปใช้ในการสร้างโครงสร้างหลักของร่างกาย
เหล็ก - ในมารดาที่เป็นพาหะธาลัสซีมเมียสามารถรับธาตุเหล็กได้ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง และเป็นองค์ประกอบของฮีโมโกลบินที่ทำหน้าที่ขนส่งออกซิเจน
เครื่องในสัตว์ต่าง ๆ โดยเฉพาะตับ ไต ม้าม ไข่แดง ผักใบเขียวต่างๆ ซึ่งควรรับประทานอาหารร่วมกับวิตามินซีและโปรตีนเพื่อช่วยให้ร่างการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดียิ่งขึ้น
-
ฟอสฟอรัส - เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของกรดนิวคลีอิก ที่มีความสำคัญต่อการถ่ายทอดพันธุกรรมและควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์
-
-
แคลเซียม - ขณะตั้งครรภ์มารดาต้องการแคลเซียมในการดูดซึมมากขึ้นเป็น 2 เท่า ควรรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียมทุกวัน
-
-
-
-
-
กินอาหารระหว่างมื้อ ได้แก่ อาหารว่างเช้าและบ่าย เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์มีความต้องการพลังงานและสารอาหารเพิ่มขึ้น การบริโภคอาหาร 3 มื้อหลัก อาจไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย โดยเลือกอาหารว่างที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น นมจืด ผลไม้
การรับประทานยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก และโฟเลตทุกวัน วันละ 1 เม็ด เพื่อป้องกันการขาดธาตุเหล็กและโฟเลต โดยไม่ควรกินยาพร้อมกับเครื่องดื่มประเภท นม ชา กาแฟ น้ำอัดลม เพราะมีสารขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก
-
-
-
การมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการตรวจพิเศษเพื่อดูความผิดปกติของการตั้งครรภ์และความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับทารกในครรภ์
การดูแลรักษาความสะอาดร่างกายเพื่อลดการสะสมของแบคทีเรียซึ่งอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ และดูแลความสะอาดช่องปาก เพื่อป้องกันฟันผุ
-
Problem List
-
-
-
มารดามีพาหะธาลัสซีเมีย
การตรวจคัดกรอง
-
Erythrocyte OsmolarityFlagility
Test (OF หรือ EOFT) การตรวจ OF สามารถตรวจคัดกรองพาหะของโรคเลือดจางธาลัสซีเมียชนิด alpha และ beta ได้
แปลผล
-
OF ได้ผล - แสดงว่า ไม่ได้เป็นพาหะของโรคเลือดจางธาลัสซีเมียชนิด alpha และ beta แต่ อาจเป็นพาหะของ Hb E
-
-
ผลต่อมารดา
พบว่าไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์และ
เด็กในครรภ์ แต่ภาวะโลหิตจางที่พบอาจเป็นผลจากภาวะขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย โดยพบมากในกลุ่มของพาหะชนิดเบต้า
โดยทั่วไปจะมีระดับเหล็กและ ferritinในซีรั่มสูง อาจไม่ต้องให้เหล็กเสริมในระหว่างตั้งครรภ์ก็ได้ แต่ควรให้โฟเลตเสริมในขนาด 1 มิลลิกรัมต่อวัน หากมีภาวะขาดเหล็กร่วมด้วยก็ต้องให้ธาตุเหล็กทดแทน
การพยาบาล
- ประเมินภาวะความรุนแรงของธาลัสซีเมีย
- แนะนำการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อประเมินอาการและความรุนแรง
- ให้คำแนะนำในการปฎิบัติตัว การพักผ่อน การลดกิจกรรม และการเลือกรับประทานอาหร ควรเลือกรับประทานอาหาร เช่นเนื้อสัตว์ นม ไข่ อาหารที่มีโฟลิค ได้แก่ ผักต่างๆ ผลไม้สดรับประทานยาเสริมโฟเลท วันละ 1 เม็ด ห้ามซื้อยารับประทานเองโดยเด็ดขาด
- ติดตามผลการตรวจพาหะธาลัสซีเมียเพื่อวางแผนการให้การรักษาและการพยาบาล
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โลหิตวิทยา โดยเฉพาะ Hb Hct RBC
- แนะนำการมาตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดกรณีหากมีความรุนแรง
ประเมินผล
- มารดาและสามีได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงธาลัสซีเมีย
- มาดราไม่มีความเสี่ยงของความรุนแรงจากพาหะธาลัสซีเมีย
- มารดาเข้าใจในการให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวและหากพบความผิดปกติมารดาจะรีบมาพบแพทย์
-
-
-
Data ข้อมูลทั่วไป
ประวัติการตั้งครรภ์ เคยตั้งครรภ์มาแล้ว 1 ครั้ง
คลอด Normal Labor ปี 2554 น้ำหนัก 3500 g.
สุขภาพแข็งแรงดีไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ประวัติมารดา
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 35 ปี G2P1-0-0-1
GA 30 wks. 2 days by date
LMP 31 สิงหาคม 2562 x 2 วัน
EDC by date : 7 พฤษภาคม 2563
ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วย : ปฏิเสธ
ประวัติการแพ้ยา : ปฏิเสธ
ประวัติครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการฉีดบาดทะยัก : 2 เข็ม
ครั้งที่ 1 วันที่ 26 ธ.ค. 2562
ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มี.ค. 2563
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 84.4 kg. ส่วนสูง 165 cm.
น้ำหนักปัจจุบัน 98.2 kg.น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ คือ 13.8 kg. BMI 31 kg/m2
-
การตรวจครรภ์
การดู : ขนาดของหน้าท้องสมมาตร เหมาะสมกับอายุครรภ์ดี มดลูกโตตามยาว พบ striae gravidarum สีเงิน ไม่มีรอยแผลผ่าตัด
การคลำ : ใช้วิธีของ Leopold hand grip 4 ท่า ดังนี้
1) Fundal grip : การคลำหาระดับของยอดมดลูก ได้ 2/4 เหนือระดับสะดือ
2) Umblilical grip : การคลำหา Large part/ small part คลำได้ส่วนหลังของทารกอยู่ฝั่งขวามือของแม่
3)Pawlik's grip : การหาส่วนนำของทารก ได้ cephalic presentation
4) Bilateral inguinal grip : Head Float
กาาตรวจร่างกาย Head to toe
ศีรษะ : ไม่มีรอยแผลหรือบาดแผล หนังศีรษะแห้งสะอาดไม่มีรังแค
ตา : เยื่อบุตาชมพูดี ไม่ซีด ไม่พร่ามัว
จมูก : สมมาตร ไม่มีน้ำมูกหรือสารคัดหลั่งอุดกั้น
ช่องปากและฟัน : ริมฝีปากไม่แห้งแตก ไม่ซีด ช่องปากสะอาด ไม่มีแผล ฟันไม่ผุ
ลำคอ : ต่อมไทรอยด์และต่อมน้ำเหลืองไม่โต
เต้านม : หัวไม่สั้น ไม่บอด ไม่บุ๋ม ไม่แบน คลำไม่พบก้อน ลานนมนิ่ม
แขนและมือ : มีภาวะบวม+2 ไม่มีบาดแผลหรือรอยแผล
หน้าท้อง : พบ striae gravidarum สีเงิน ไม่มีรอยแผลผ่าตัด
ขาและเท้า : มีภาวะบวม+2 ไม่มีบาดแผลหรือรอยแผล
เข้ารับฟังโรงเรียนพ่อแม่ ครั้งที่ วันที่ 17 ต.ค.2562
ได้รับการประเมินความเครียด - ไม่เครียด
ได้รับคำแนะนำกลุ่มอาการดาวน์ วันที่ 17 ต.ค.2562
รับทราบนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Notify
-
-
Obesity
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 84.4 kg. ส่วนสูง 165 cm.
น้ำหนักปัจจุบัน 98.2 kg.น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ คือ 13.8 kg. BMI 31 kg/m2
-
-
-
-
-
-