Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Pregnancy-induced…
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (Pregnancy-induced Hypertension: PIH)
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเพิ่มอัตราเสี่ยงการเกิด PIH
โรคไตเรื้อรัง เบาหวาน
ทารกบวมน้ำจาก Hb Bart's ซึ่งพบได้บ่อยประเทศไทย
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ครรภ์แฝด
อื่น ๆ : ความอ้วน โรคไต โรคทางคอลลาเจน ทารกโตช้าในครรภ์ที่ไม่ทราบสาเหตุ
ประวัติในครอบครัวเคยเป็นมาก่อน
อายุมารดายิ่งมากยิ่งมีความเสี่ยงสูงขึ้น
ไม่เคยคลอดบุตร (nulliparity)
ลักษณะทางคลินิก
Mild preelcampsia
ลักษณะสำคัญทางคลินิกของ PIH โดยทั่วไป คือ ความดันโลหิตสูง (140/90 มม.ปรอท)
Severe preelcampsia
โดยอาศัยการตรวจพบอาการร่วมอย่างใดอย่างหนึ่ง
Eclampsia
อาการนำ
อาการผิดปกติทางสายตา
ปวดศีรษะมาก อาเจียน
เจ็บที่ลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวารุนแรง
ตื่นตัวทางระบบประสาท
อาการชัก
ระยะเริ่มต้น (invasion) เริ่มกระตุกที่บริเวณใบหน้า ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะเกร็ง (tonic) อาการตัวแข็งเกร็ง แขนงอ มือกำแน่น
ระยะชักกระตุก (colonic) ชักกระตุกทั่วร่างกาย
ระยะฟื้น (recovery) จากนั้นผู้ป่วยจะนอนนิ่งแล้วค่อย ๆ รู้สึกตัว
การจำแนกภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างการตั้งครรภ์
Pregnancy-aggravated hypertension (PAH)
Superimposed preeclampsia (ไม่มีอาการชักร่วมด้วย)
Superimposed eclampsia (มีอาการชักร่วมด้วย)
Gestational hypertension
Chronic hypertension masked by early pregnancy
Early phase of preeclampsia กลุ่มนี้จะกลายเป็น preeclampsia ในที่สุด
Transient hypertension
Chronic Hypertension (CHT)
เกิดจากสาเหตุใดก็แล้วแต่ที่เกิดมาก่อนการตั้งครรภ์ โดยถือเอาที่ระดับความดัน systolic 140 มม.ปรอท หรือความดัน diastolic 90 มม.ปรอท
Preeclampsia และ eclampsia (PIH)
Preeclampsia หมายถึง ความดันโลหิตสูง ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
Eclampsia หมายถึง preeclampsia ที่มีอาการชักร่วมด้วย
การรักษา
การรักษา Severe preelcampsia (Severe PIH)
ป้องกันชัก
ลดความดันโลหิต
ชักนำการคลอด
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
ควบคุมความสมดุลย์ของสารน้ำและอีเลคโตรไลท์
ป้องกันและภาวะแทรกซ้อน
การรักษา eclampsia
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง
ระงับอาการชัก และป้องกันการชักซ้ำตามแนวทางของ severe PIH
ควบคุมความดันโลหิต
ตรวจติดตามสุขภาพทารก ทำ intrauterine resuscitation
ให้ออกซิเจนผ่านทาง tent หรือ mask หรือ nasal catheter
พิจารณาตรวจ arterial blood gas และภาพรังสีทรวงอก
ยุติการตั้งครรภ์ (ภายหลังจากควบคุมชักได้ดีแล้ว 1-2 ชั่วโมง)
ให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องมืด สงบ และดูแลอย่างใกล้ชิดและงดอาหารและน้ำทางปาก
ระวังภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เช่น การเกิดหัวใจล้มเหลว หรือน้ำคั่งในปอด
ตรวจสมองด้วย CT หรือ MRI ในกรณีชักแบบผิดปกติ อาการแสดงทางประสาท
การรักษา Mild preelcampsia (Mild PIH)
ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
วัดความดันโลหิตทุก 6 ชั่วโมง และเก็บปัสสาวะตลอด 24 ชั่วโมง
ให้ผู้ป่วยพักผ่อน (bed rest)
ทดสอบการทำงานไต
รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกราย
ประเมินอายุครรภ์ของทารก
พิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์ในกรณีที
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์แล้ว
ควบคุมอาการและอาการแสดงของโรคไม่ได้