Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์แฝดน้ำหรือน้ำคร่ำมากเกิน…
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์แฝดน้ำหรือน้ำคร่ำมากเกิน (polyhydramnios)
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือน้ำคร่ำมากเกิน (polyhydramnios) หมายถึง ภาวะตั้งครรภ์ที่มีจำนวน น้ำคร่ำมากผิดปกติ เกินเปอร์เซนไตล์ที่ 95 ของแต่ละอายุครรภ์ หรือการตรวจดัชนีในน้ำคร่ำ (Amniotic fluid index: AFI) เกิน 24-25 เซนติเมตร ถ้าวัดปริมาตรได้โดยตรงจะถือที่มากกว่า 2,000 มล.
การรักษา
การดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction) เพื่อลดปริมาณน้ำคร่ำ
การรักษาด้วยยา Indomethacin (Prostaglandin synthetase inhibitors) ยาส่งผลตอ่ทารก ในครรภ์
สาเหตุ
สาเหตุที่เกี่ยวกับทารก (ร้อยละ 20)
ความพิการของทารก
ความผิดปกติอื่น ๆ
ครรภ์แฝด ที่มีภาวะแทรกซ้อน
สาเหตุที่เกี่ยวกับมารดา (ร้อยละ 20)
มารดาเป็นเบาหวาน
ภาวะ hypercalcemia ในมารดาก็ทำให้เกิดครรภ์แฝดน้ำ
สาเหตุที่เกี่ยวกับรก
ไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัย
การประเมินภาวะแทรกซ้อน
ระยะตั้งครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบ ภาวะหายใจลำบาก
ระยะคลอด ปริมาณน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ระยะหลังคลอด เกิดการตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย
การวินิจฉัยด้วยอัลตราซาวด์
การตรวจร่างกาย การตรวจหน้าท้องและตรวจครรภ์
การซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตและปัจจุบัน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์แฝดน้ำจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์ ที่สัมพันธ์กับการ ขยายขนาดของมดลูก (uterine over distention)
ผลกระทบต่อทารก
อัตราตายปริกำเนิด จะเพิ่มขึ้น 2-5 เท่า ในรายที่น้ำคร่ำเยอะโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยเฉพาะในราย ที่ทารกตัวโต
การพยาบาลมารดาตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือน้ำคร่ำมากเกิน (polyhydramnios)
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการรักษาภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือน้ำคร่ำมากเกิน
แนะนำให้นอนศีรษะสูงและนอนตะแคงซ้ายเพื่อลดแรงดันของกะบังลม
แนะนำให้ใส่เสื้อผ้าที่หลวมเพื่อลดอาการแน่นอึดอัด
แนะนำให้รับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง และลดเค็ม
ให้การดูแลตามแผนการรักษา เตรียมเจาะน้ำคร่ำทางหน้าท้องตามแผนการรักษา
ชั่งน้ำหนักทุกสัปดาห์
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยเพื่อลดความวิตกกังวล
ให้กำลังใจเพื่อให้เกิดความมั่นใจต่อการรักษา