Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ANC (ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (UA (07/01/63
color : yellow light clear
…
ANC
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
UA
07/01/63
color : yellow light clear
ketone = neg
glucose = neg
bile = neg
RBC = not found
WBC = not found
epithelial cell = 2-3/HPF
-
-
-
-
-
CBC
07/01/63
-
Hb = 12.9 g/dL
Hct =39.6 %
RBC = 4.43 x 10^6/uL
MCV = 89.4 fL
MCH = 29 pg
WBC = 8.82 x 10^3/uL
Neu = 62.9 %
Lym = 29.7 %
Plt = 285 x 10^3/uL
การให้คำแนะนำ
-
การออกกำลังกายเบาๆ ไม่หักโหมจนเกินไป เฉลี่ยวันละ 10-20 นาที
เช่น การเดิน โยคะ ว่ายน้ำ หรือการทำงานบ้านเล็กๆน้อยๆ เพื่อให้อุ้มเชิงกรานขยายตัวได้ดีขึ้น
พักผ่อนให้เพียงพอ มีช่วงเวลาในการนอนกลางวันและกลางคืน
แนะนำนอนในท่าตะแคงซ้าย ช่วยให้เลือดไหลเวียนผ่านหลอดเลือดใหญ่ได้ดี และอาจรองหมอนไว้ให้ขาสูง ป้องกันอาการขาบวม
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ เพราะจะเกิดกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ดังนั้นหากมีอาการปวดปัสสาวะให้ไปเข้าห้องน้ำเลย หรือหากต้องการเดินทางไกล ควรหลีกเลี่ยงเพราะอาจจำเป็นต้องกลั้นปัสสาวะนาน
-
ยาและวิตามินเสริม
ferrous fumarate : FF รับประทานเพื่อเสริมสร้างการสร้างเม็ดเลือดแดงจากปริมาณเลือดที่เพิ้มขึ้น ช่วยในการได้รับออกซิเจนเพียงพอต่อทารกและมารดา ดูดซึมได้ดีที่สุดตอนท้องว่างแนะนำให้ทานก่อนอาการเช้าและทานอาหารที่มีวิตามินc เช่นส้ม ช่วยในการดูดซึม
Iodine ช่วยในการสร้างฮอร์โมนไทรอยด์
มีความจำเป็นต่อร่างกาย มีผลในการสร้างสมอง ระบบประสาท และการเจริญเติบโตของร่างกายเด็กในครรภ์
calcium เสริมสร้างการเจริญเติบโต นำไปใช้ในการสร้างกระดูกและฟันของทารก แนะนำทานหลังอาหารเที่ยงหรือเย็นพร้อมดื่มน้ำตาม
Folic ช่วยป้องกันความผิดปกติของทารก ได้แก่ ความผิดปกติของสมองและไขสันหลัง และลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด
ข้อมูลทั่วไป
มารดา G3 P2-0-0-2
อายุ 45 ปี น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 85 kg
ส่วนสูง 150 cm BMI 37.7 kg/m2
น้ำหนักปัจจุบัน 91 kg เพิ่มจากเดิม 6 kg BMI = 40.44 kg/m2
ปฎิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
ไม่มีประวัติการแพ้อาหารและยา
ประวัติครอบครัว มารดาคุณแม่มีครรภ์แฝด
และน้องสาวผู้ป่วยเป็นเบาหวาน
ได้รับวัคซีนบาดทะยักครบ3 เข็มปี พ.ศ.2544
กระตุ้นครั้งที่ 1 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 63
กระตุ้นครั้งที่ 2 วันที่ 19 มีนาคม 63
-
บุตรหญิง 2 คนก่อนหน้าคลอด normal labor ทั้ง 2 คน
น้ำหนักตัว 3500 g , 3300 g ตามลำดับ
บุตรแข็งแรงดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
problem list
ทารกมีภาวะเสี่ยงติดเชื้อ
-
มีโอกาสถ่ายทอดไปยังลูกที่เกิดออกมาได้ และทำให้ลูกเป็นโรคตับอักเสบบีเรื้อรังในภายหลังได้ และมีโอกาสเป็นโรคแบบเรื้อรังสูง
อาการคือ ตาเหลือง ตัวเหลือง อ่อนเพลียมาก ปัสสาวะสีเข้ม ที่มีอาการมากๆเป็นเพราะตับถูกทำลายมาก อาจถึงเสียชีวิต
การพยาบาล
-
-
ทารกที่เกิดมาจะได้รับการฉีดวัคซีน HBV,HBIG 1 เข็มภายใน 24 ชั่วโมงแรกเกิด
, 1 เดือน , 2 เดือน , 6 เดือน และ 12 เดือน
-
-
-
มารดามีอาการท้องผูก
เป็นภาวะปกติที่พบได้ในหญิงตั้งครรภ์ไตรมาสนี้ เกิดจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพิ่มมากขึ้น ในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ทำให้กล้ามเนื้อลำไส้ผ่อนคลายและหดตัวน้อยลงอาหารและของเสียเคลื่อนตัวผ่านทางเดินอาหารได้ช้าลง
การพยาบาล
เพิ่มปริมาณใยอาหารทำให้อุจจาระนิ่ม ช่วยทำให้การบีบตัวของลำไส้เป็นปกติมากขึ้น ได้แก่ ผลไม้ ผัก เมล็ดถั่ว ถั่วเปลือกแข็ง ขนมปังโฮลวีท ข้าวกล้อง และข้าวไม่ขัดสี ข้าวโอ๊ต รำข้าว ลูกพรุน
ดื่มน้ำมากๆ เพราะน้ำช่วยให้ใยอาหารทำงานได้ดี 6-8 แก้วต่อวัน หรือเครื่องดื่มอื่นๆ เช่น น้ำผลไม้ ซุป นมถั่วเหลือง น้ำลูกพรุน
บริโภคผลิตภัณฑ์จากนมที่มีส่วนผสมของพรีไบโอติกและ
โพรไบโอติก ได้แก่ โยเกิร์ต หรือ นมเฉพาะสำหรับหญิงตั้งครรภ์
ทำกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวของร่างกาย ช่วยกระตุ้นให้ลำไส้ทำงานเป็นปกติ และลดอาการท้องผูก ได้แก่ ว่ายน้ำ ประมาณ 20-30 นาที และไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง/wk
-
-
Notify
Obesity
ภาวะอ้วนเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้หญิงตั้งครรภ์มีดัชนีมวลกาย 30 kg/m2 หรือมากกว่า
เกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย การทำกิจกรรม การใช้ชีวิตในแต่ละวัน การเลือกรับประทานอาหาร
น้ำหนักตัวที่เหมาะสมที่ควรเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์
จะเพิ่มขึ้นประมาณ 2-3 kg ตลอดทั้งไตรมาสแรก
และจะเพิ่มเร็วขึ้นในช่วงไตรมาสที่ 2-3 เป็นต้นไป
คือเพิ่มขึ้นประมาณ 2 kg/month หรือ ประมาณ 0.5-1 kg/wk
ผลกระทบต่อมารดา
ภาวะไขมันสะสมในตับ (Fatty liver)เกิดขึ้นเนื่องจากภาวะที่มีระดับน้ำตาล
และไขมันในเลือดสูง ร่วมกับภาวะดื้อต่ออินซูลิน จึงทำให้
มีการสะสมของเนื้อเยื่อไขมันในเซลล์ตับและอวัยวะอื่นๆของร่างกาย
มักพบร่วมกับภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
เบาหวานขณะตั้งครรภ์(Gestational diabetes mellitus)
การสะสมของเนื้อเยื่อไขมันในร่างกายท้าให้
เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ทำให้เกิดภาวะเสียสมดุลในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ (Gestational hypertension)
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดแข็งตัวและสูญเสียความยืดหยุ่น ร่วมกับมีการอุดตันของคราบไขมันในหลอดเลือด (atherosclerosis) จึงทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูงขึ้น
-
-
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage)
อาจเนื่องจากทารกมีขนาดใหญ่ มีภาวะน้ำคร่้า
มากกว่าปกติ กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดี หลังได้รับยาแมกนีเซี่ยมซัลเฟท หรือได้รับยาออกซิโทซินสูง
-
การดูแล
อาหาร
โปรตีน ได้จากเนื้อสัตว์ทุกประเภท รวมทั้งไข่และถั่วต่างๆ โปรตีนจะช่วยสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ ศีรษะ ปอด มันสมอง ตา ผิวหนัง
-
-
-
-
-
-
การออกกำลังกาย
ควรออกกำลังกายหากไม่มีภาวะแทรกซ้อน ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน ครรภ์เป็นพิษ แต่ไม่หักโหมหรือใช้แรงกระแทก
แนะนำการเดิน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิก โยคะ
ระมัดระวังอุบัติเหตุ เช่นหกล้มหรืออันตรายต่อหน้าท้อง
หากรู้สึกเหนื่อยให้หยุกกิจกรรมทันที
ในช่วง 3 เดือนแรกไปแล้วถ้าไม่มีอาการแพ้ท้องสามารถออกกำลังกายเล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ หรือชนิดที่เรียกกันว่า "ยืดเส้นยืดสาย" พอไม่ให้รู้สึกเหนื่อย
เมื่อพ้น 3 เดือนแรกไป ส่วนใหญ่จะไม่แพ้ท้องแล้ว ควรหันมาสนใจเรื่องสุขภาพร่างกายด้วยการออกกำลังกาย คุณแม่ควรออกกำลังกายทุกวันหรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 วัน วันละ 30-40 นาที
ประเมิน BMI ชั่งน้ำหนัก
ควรประเมินจากระดับ BMI ก่อนการตั้งครรภ์
หากหญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ปกติ (BMI 25-29.9)
น้ำหนักที่ควรเพิ่มทั้งหมดขณะตั้งครรภ์ 6.8-11.3 kg
ไม่ควรเพิ่มอย่างรวดเร็วมากกว่า 2.9 kg/month
-
-
มารดาน้ำหนัก 91 kg ส่วนสูง 150 cm มีBMI 40.4kg/m2
จากก่อนตั้งครรภ์ 85 kg
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด 6 kg
-
Elderly pregnancy
หญิงตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้น มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงมาก ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
-
ผลต่อทารกในครรภ์
-
-
-
-
อัตราตายปริกำเนิดเพิ่มขึ้นเนื่องจากโรคทางอายุรกรรมทำให้เกิดรกลอกตัวก่อน กำหนด คลอดก่อนกำหนด และความพิการแต่กำเนิด มีผลให้ทารกเสียชีวิต
ผลต่อมารดา
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes, GDM)
การตรวจ
Glucose challenge testให้รับประทานกลูโคสขนาด 50 กรัม ขณะอายุครรภ์ที่ 24-28 wk
ถ้าระดับ Plasma glucose เท่ากับ 140 มก./ดล.หรือมากกว่า ถือว่าผิดปกติ ให้ตรวจวินิจฉัยต่อด้วย 100 กรัม OGTT
oral glucose tolerance test (OGTT)เจาะเลือดขณะอดอาหารและหลังให้รับประทานกลูโคส 100 กรัม ที่ 1, 2 และ 3 ชั่วโมงตามลำดับ เกณฑ์ที่ใช้วินิจฉัย ACOG แนะนำให้ใช้ของ Carpenter และ Coustan และ ของ The National Diabetes Data Group
-
-
-
-
-
-
-
การดูแล
ดูแลให้มีการฝากครรภ์ตั้งแต่ทราบว่าตั้งครรภ์ ให้มาตรวจตามนัดทุกครั้ง เพื่อดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ให้คำแนะนำให้ทราบและเข้าใจถึงความเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ที่พบได้ในหญิงตั้งครรภ์อายุมาก รวมทั้งการป้องกันและรักษา
การอธิบายถึงความจำเป็นในการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยความผิดปกติของ
โครโมโซมทารกในครรภ์ เช่น การตรวจอัลตราซาวด์ (ultrasonography) การเจาะน้ำคร่ำ (amniocenthesis) การเจาะเลือดจากสายสะดือของทารก (chorionic villus sampling : CVS) เป็นต้น
นับลูกดิ้น เมื่ออายุครรภ์ตั้งแต่ 20 wk ขึ้นไปจะรู้สึกว่าทารกดิ้น ให้มารดาบันทึกจำนวนครั้งที่ลูกดิ้นเป็นประจำทุกวัน
เริ่มนับหลังรับประทานอาหาร
หากดิ้นตั้งแต่ 10ครั้งขึ้นไปเป็นอาการปกติ
ถ้าทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งหรือไม่ดิ้นควรมาพบแพทย์
-
-
-