Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GASTROINTESTINAL TRACT (อาการและอาการแสดงของความผิดปกติในทางเดินอาหารที่สำ…
GASTROINTESTINAL TRACT
กายวิภาคและสรีรวิทยา
ทางเดินอาหารส่วนบน
ประกอบด้วย
ปาก
หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร
ทำหน้าที่
ทางผ่านและเริ่มย่อยอาหาร
ทางเดินอาหารส่วนกลาง
ประกอบด้วย
ลำไส้เล็ก
Duodenum
Jejunum
Iieum
ทำหน้าที่
ย่อยอาหาร
ดูดซึมอาหาร
ทางเดินอาหารส่วนล่าง
ประกอบด้วย
Cecum
colon
rectum
ทำหน้าที่
กักเก็บอุจจาระ
อวัยวะที่ช่วยเหลือระบบย่อยอาหาร
ประกอบด้วย
ต่อมน้ำลาย
ตับอ่อน
หน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร
Motility
ลำไส้เล็ก
osmoreceptor
acid receptor
gastrin
ตัวรับความเข้มข้นของอาหาร
secretin
Cholecystokinin (CCK)
somatostatin
กระเพาะอาหาร
Cholecystokinin (CCK)
peristalsis
Secretin
delay gastric emptying time
ลำไส้ใหญ่
การเคลื่อนไหวให้อาหารและอิเล็กโตรไลท์สัมผัสกับผนังลำไส้เพื่อเพิ่มการดูดซึม
Haustration
secretion
ปากมีน้ำย่อย amylase ย่อยคาร์โบไฮเดรต
กระเพาะอาหาร
Mucous cell
สร้างเยื่อเมือกป้องกันการไหลย้อนกลับของ H+
Parietal cell
สร้าง HCl
intrinsic factorช่วยดูดซึมวิตามินบี 12
Chief cell
สร้าง pepsinogen และถูก HCl เปลี่ยนเป็น pepsin ย่อยโปรตีน และผลิต lipase ย่อยไขมันสายสั้น
G-cell
gastrin
น้ำย่อยจะถูกหลั่งด้วยวิธี active transport โดยแลกเปลี่ยน H+กับK+ ให้เข้าสู่เซลล์โดยใช้เอนไซม์ H+-K+ ATPase
HCO-3จะเคลื่อนที่ออกจากพลาสมาโดยแลกเปลี่ยนกับ Cl-
น้ำย่อยจากลำไส้เล็กควบคุมด้วย Vagus nerve
ลำไส้ใหญ่ทำหน้าที่หลั่งสารเมือกที่เป็นด่างๆ
ตับอ่อนหลั่ง trypsin ย่อยโปรตีน หลั่ง pancreatic amylase ย่อยคาร์โบไฮเดดรต
Digestion และ Absorption
ลำไส้เล็กรับน้ำดีจากถุงน้ำดี ไขมัน ย่อยคาร์โบไฮเดรต และโปรตีน
Villi ที่ลำไส้เล็ก มีท่อน้ำเหลืองและเส้นเลือดฝอยดูดซึมกรดอะมิโน กรดไขมันและกลูโคส
ใช้กระบวนการ sodium dependent glucose transport ในการดูดซึมกลูโคส
Protein Peptide + free amino â
ไขมันถูกย่อยด้วย lipase จากกระเพาะอาหารและน้ำดี จากตับอ่อน
เกลือแร่และวิตามินจะถูกดูดซึมที่ลำไส้เล็ก 80%
ลำไส้ใหญ่จะดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน (A, D, E, K)
1, 25 (OH)2D3 ที่ช่วยดูดซึมแคลเซียมจะถูกดูดซึมที่ลำไส้เล็ก
อาการและอาการแสดงของความผิดปกติในทางเดินอาหารที่สำคัญ
เบื่ออาหาร
สาเหตุ
ความผิดปกติของจิตใจ
อารมณ์
ความผิดปกติของอวัยวะจ่างๆ
โรคเรื้อรั้ง
มะเร็ง
หัวใจ
ไตเรื้อรัง
ภาวะของเสียคั่ง
ปวดท้อง
ชนิด
เฉียบพลัน ร้อยละ 80
เรื้อรัง มากกว่า 6 เดือน
แบ่งตามตำแหน่งที่ปวด
ปวดจุกบริเวณลิ้นปี (epigastric pain)
ปวดบริเวณชายโครงขวา (right costal margin)
ปวดสีข้าง (Flank pain)
Abdominal pain
Autonomic pain
Somatic pain
dull pain
colicky pain
Sharp pain
Cramping
heart burn
Referred pain
คลื่นไส้
อาเจียน
กลืนลำบาก
ถ่ายเป็นเลือด
อาเจียนเป็นเลือด
ดีซ่าน
ความผิดปกติของทางเดินอาหาร
การเคลื่อนไหว
Nausea
สาเหตุ
เกิดจากยาหรืออาหารบางชนิด ไปกระตุ้น Medullary vomiting center
เกิดการโป่งตึงของลำไส้เล็กส่วนดูโอดีนัม น้ำลายไหล หลอดเลือดหดตัว เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว
กลไกช่วยขับสารพิษออก ถูกกระตุ้นผ่าน
สารสื่อประสาท(NTs)
dopamine
Ach
Serotonin
ความผิดปกติของสมอง (projectile vomiting)
ภาพที่เห็น หูชั ้นใน (Cn8 vestibulocochlear n.)
ยาหรือสารพิษจะกระตุ้นผ่าน Chemoreceptor trigger zone
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
กลไกการอาเจียน
การบีบตัวของลำไส้เล็กและกระพาะอาหารเคลื่อนที่ต้าน peristalsis
ทำให้ epiglottis และ soft palate ถูกปิด
กระบังลมและกล้ามเนื้อหน้าท้องบีบตัวอย่างแรง gastroesophageal คลายตัวทำให้gastric content ล้นผ่านหลอดอาหาร
กลืนลำบาก
สาเหตุ
Mechanical dysphagia
การอุดตันในหลอดอาหารจากการติดเชื้อ
เนื้องอก
การตีบแคบจากสารเคมี
ความผิดปกติแต่กำเนิด
Motor dysphagia
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
โรคพาร์กินสัน
อาการ
กลืนลำบาก
น้ำลายไหล
เจ็บเวลากลืน
เสียงแหบ
แสบร้อนกลางอก
อาหารไหลย้อน
อาจมีน้ำหนักตัวลด
ไอหรือขย้อน
การวินิจฉัยหาสาเหตุ
การกลืนแป้งแบเรียมแล้วถ่ายภาพรังสี หรือส่องกล้อง
Hematemesis / Hematochezia
upper GI bleeding
melena
สาเหตุ
esophageal varices
แผลที่กระเพาะอาหาร
มะเร็ง
ท้องผูก
อาการ
มีอาการเจ็บปวดหรือต้องเบ่งถ่าย
อุจจาระเป็นก้อนเล็กแห้งแข็ง
เวลาขับถ่ายรู้สึกยังถ่ายไม่สุด ยังมีอุจจาระค้าง
รู้สึกเหมือนมีการอุดตันหรือติดขัดอยู่ข้างใน
ต้องใข้นิ ้วมือช่วยในการขับถ่าย
ถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั ้งต่อสัปดาห์
ชนิด
Primary constipation
มีพฤติกรรมรับประทานอาหารกากใยน้อย
ดื่มน้ำน้อย
เร่งรีบ
กลั้นอุจจาระ
ซึมเศร้า
ยาลดกรด
ยาลดความดัน
Secondary constipation
Hirschsprung disease/ congenital megacolon
การบาดเจ็บของไขสันหลัง
Multiple sclerosis
โรคลำไส้อุดตัน
ท้องเสีย
Acute watery
ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำ
ไม่มีมูกเลือดปน
ระยะเวลา < 14 วัน
Acute bloody
ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำ
มีมูกเลือดปน
ระยะเวลา < 14 วัน
Persistent diarrhea
ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำ
มี/ไม่มีมูกเลือดปน
ระยะเวลา > 14 วัน
Osmotic
Lactate deficiency
Malabsorption
Secretory
กระตุ้นให้มีการหลั่งน้ำย่อยหรืออิเล็กโตรไลท์
สาเหตุ
Bacterial endotoxin
พยาธิสภาพทางระบบประสาทจากเบาหวาน
Motility
Bacterial endotoxin
Hyperthyroidism
หลังผ่าตัดลำไส้
diabetic neuropathy
โรคกรดไหลย้อน
หูรูด LES คลายตัว
ความดันที่หูรูดลลดลง
การเคลื่อนที่ผ่านกระเพาะอาหารช้า
(delay gastric emptying)
ความดันที่กระเพาะอาหารสูงขึ ้น
Gastric content ดันขึ ้น
มีกรดไปท าลาย mucosa
หลอดอาหารอักเสบ มีแผล
อาการ
แสบร้อนกลางอกมักเป็นตอนนอน
ไอ
เสียบแหบ
กลืนลำบาก
การักษา
ให้ยาลดกรด
ยาเพิ่มการเคลื่อนไหวของลำไส้
ลำไส้อุดตัน
Simple obstruction อุดตัน 1 ตำแหน่ง ลมและน้ำผ่านขึ้นข้างบนเหนือตำแหน่งอุดกั้นได้
Close loop obstruction อุดตันทั้งบนและล่าง
ลำไส้พองบวม
ขาดเลือดไปเลี้ยง
ผนังลำไส้ตาย
strangulation obstruction
พยาธิวิทยา
ลำไส้อุดตัน
ลำไส้ขาดเลือดไปเลี้ยง
Villi ถูกทำลาย
เกิดแผล มีน ้าเหลืองรั่วออก
ลำไส้เน่าตายและทะลุ
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ติดเชื้อในกระแสเลือด
ภาวะกรดจากการเผาผลาญ
แบคทีเรียคั่งค้าง
สร้างและกรดน้ำดีในรูปที่ละลายน้ำได้
ดูดซึมไขมันและวิตามินบี 12 ไม่ได้
แน่นอึดอัดท้อง
อาเจียน
ภาวะด่างจากการเผาผลาญ
สูญเสียสารน ้าและอิเล็กโตรลัยท์
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องเป็นพัก ๆ ปวดบิด (Colicky pain)
ลำไส้บิดเป็นเกลียวหรือขาดเลือดปวดตลอดและรุนแรง
คลื่นไส้อาเจียน อาจมีน้ำดีปน
ท้องอืด เคาะเสียงโปร่งมาก (hypertympany)
ท้องผูก ไม่ผายลม ความรุนแรงขึ้นกับการอุดตัน
อาการอื่น ๆ ที่อาจพบได้ถ้ามีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ คือ ไข้ สูง หนาวสั่น กดเจ็บท้อง
การรักษา
งดน้ำงดอาหาร
ให้สารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ดูดสารคัดหลั่งและน้ำย่อยออก
ผ่าตัด
สาเหตุ
Mechanical obstruction
Paralytic obstruction
การอักเสบการติดเชื้อ
Peptic ulcer
สาเหตุ
Mucosa ถูกทำลาย
จากการกระตุ้น Vagus nerve
การติดเชื้อ
Helicobacter pylori (H. pylori)
การใช้ยาแอสไพรินและยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
Acute appendicitis
สาเหตุ
เศษอุจจาระแข็งอุดที่ lumen
หลุดเข้าไปในไส้ติ่ง
ติดเชื้อแบคทีเรีย
ความดันใน lumen สูง
ไส้ติ่งอักเสบ
เกิดเนื้อตาย เน่า แตก
Rupture appendicitis
อาการ
ปวดท้องรอบสะดือ
ปวดท้องน้อยด้านขวา
ตรวจร่างกาย
tenderness at Mc. burney poin
guarding
rebound
มีไส้ติ่งแตกหรือทะลุ หรือมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
คลื่นไส้อาเจียน
มีไข้
บางรายท้องเสีย
รักษา
ผ่าตัด
ให้ยาฆ่าเชื ้อกรณีสงสัยว่า
มีไส้ติ่งแตกหรือทะลุ หรือมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ผนังลำไส้อ่อนแอ
ไส้เลื้อน
สาเหตุ
น้ำหนักตัวมาก
ยกของหนักเป็นประจำ
ต่อมลูกหมากโต
ท้องมาน
ไอเรื้อรัง
ตั้งครรภ์
ชนิด
Direct inguinal hernia
Indirect inguinal hernia
อาการ
คลำได้ก้อนบริเวณขาหนีบ
ปวดหน่วงที่ก้อนเห็นก้อนชัดเวลาไอจามแรง ๆ
รักษา
การเย็บซ่อมแซม (Herniorrhaphy)
ใช้แผ่นสารสังเคราะห์เย็บปิดรูหรือเสริมความแข็งแรงของผนังหน้าท้อง