Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ "บาดแผลไหม้…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
"
บาดแผลไหม้ (Burns)
"
ประเภทของแผลไหม้
แผลไหม้จากความร้อน (Thermal injury)
ความร้อนแห้ง เช่น เปลวไฟ
ความร้อนเปียก เช่น น้้าร้อน
แผลไหม้จากสารเคมี (Chemical injury)
แผลไหม้จากรังสี (Radiation injury) เช่น สารกัมมันตรังสี
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า (Electrical injury) เช่น ฟ้าผ่า
ปัญหาและการพยาบาล
ระยะวิกฤต
การติดเชื้อของแผล การดูแลบาดแผล ในเบื้องต้น
ภาวะทุพโภชนาการ ดูแลด้าน โภชนาการ ให้อาหารพลังงานสูง
ปัญหาความเจ็บปวด การบรรเทาโดยดูแลให้ได้รับยาลดปวด ตามแผนการรักษา เช่น morphine
การประคับประคองด้านจิตใจ โดยการให้กำลังใจและอธิบายให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นพร้อมแนวทางการรักษาตามความเหมาะสม
ระยะฉุกเฉิน
การดูแลผู้ปุวยเมื่อแรกรับ 2-4 ชั่วโมงแรก
ประเมินสภาพเบื้องต้นตามหลัก ABC
หยุดกระบวนการเผาไหม้ที่ยังหลงเหลือยู่
ซักประวัติจากผู้ป่วยและญาติ
ป้องกันการเกิดภาวะ hypovolemic shock
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้้าทดแทน
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 15 – 30 นาที ในชั่วโมงแรกๆ และต่อไปทุก1 ชั่วโมง
ตวงและบันทึกจำนวนปัสสาวะ ทุกชั่วโมง
เจาะเลือดส่งตรวจ
ป้องกันปัจจัยเสริมที่ทำให้ร่างกายสูญเสียสารน้้ามากขึ้น
ชั่งน้ำหนักวันละครั้ง
ป้องกันภาวะ respiratory distress
เตรียมอุปกรณ์และช่วยแพทย์ ในการใสท่อหายใจ
ให้ออกซิเจน
ในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจลำบากจาก circumferential full thickness burn ที่อก ต้องเตรียมผู้ป่วยทำ escharotomy ทันที
ระยะฟื้นฟู
ควรเริ่มต้นวางแผนตั้งแต่ระยะ 27 – 48 ชั่วโมง และให้การดูแลร่วมไปในระยะ acute phase
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
Localized effect
ผิวหนังจะสูญเสียหน้าที่ในการควบคุมการระเหยของสารน้ำและเกลือแร่ สูญเสียหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
Systematic effect
ทางเดินหายใจ
Inhalation injury
เกิดแผลไหม้บวม หรือแข็งเป็นพังผืด ทำให้ทรวงอกไม่สามารถ ขยายตัวได้เต็มที่
ผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร
อาเจียน ท้องอืดแน่น การขาดเลือดมาเลี้ยงลำไส้นานท้าให้เยื่อบุ ลำไส้ตายและติดเชื้อได้ง่าย
อิเลคโตรไลท์และกรดด่าง
hyperkalemia
Metabolic acidosis
ผลกระทบต่อกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
ข้อติด การหดรั้งตามข้อพับต่างๆ เพราะมีพังผืดเหนียว ทำให้ผิด รูปร่างไปจากเดิม
ผลกระทบต่อระบบหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิตขึ้นอยู่กับความรุนแรงและความกว้างของพื้นที่ ผิวที่เกิดแผลไหม้
เกิดHypovolemic shock
สูญเสียน้ำทางผิวหนัง
ผนังหลอดเลือดมี permeability เพิ่มขึ้น
หลอดเลือดหดตัว
การเปลี่ยนแปลงของเลือด
Hemoconcentration ภาวะเลือดข้น
hemolysis
ภาวะเม็ดเลือดขาวสูง
ภาวะเลือดออกง่าย
ผลกระทบต่อภูมิคุ้มกัน IgG จะลดลงมากในช่วงสัปดาห์แรก
ผลกระทบต่อการเผาผลาญอาหาร น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว
ความรุนแรงของการเกิดแผลไหม้
ประเมินโดยใช้ความลึกของแผลไหม้
Second degree burn
Superficial partial thickness ทำลายชั้นหนังกำพร้าทั้งหมดและบางส่วนของหนังแท้ ผิวจะมีสีแดง มีตุ่มพอง ปวดแสบมาก 7-14 วัน มีแผลเป็น
การพยาบาล คือ การใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก (Topical antibiotic treatment) หรือ ปิดด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลชนิดต่างๆ
Deep partial thickness ทำของชั้นหนังก้าพร้าทั้งหมด สีผิวจะเป็นสีขาว ซีด ตุ่มพองมีน้อยหรือแฟบ ความรู้สึกปวดแสบลดลง 14-28 วัน
การพยาบาล คือ ให้ยาปฏิชีวนะจะช่วยให้แผลไม่ติดเชื้อ
First degree burn
ทำลายเฉพาะชั้นหนังก้าพร้า ผิวหนังบริเวณนั้น จะมีสีชมพหูรือสี แดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง มี อาการปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน 3-5 วัน
การพยาบาล คือ การใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก (Topical antibiotic treatment) หรือ ปิดด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลชนิดต่างๆ
Third degree burn
ผิวหนังถูกทำลายทุกชั้นแผลไหม้จะมีลักษณะขาว ซีด เหลือง ดำ หนาแข็ง ไม่มีอาการเจ็บปวด การหายของแผล ต้องใช้เวลานาน
การพยาบาล คือ ทำ skin graft ร่วม
การบาดเจ็บร่วม
กรณีที่มีกระดูกหักข้อเคลื่อน หรือมีการสูดควันเข้าไป จ้านวนมาก ท้าให้ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ส่วนของร่างกายที่ถูกไหม้
ความรุนแรงจะแตกต่างกันตามส่วนที่ถูกไหม้
ประเมินโดยใช้ความกว้างหรือขนาดของแผลไหม้
วิธีคำนวณคือ Rule of nine
ใช้กับแผลไหม้ในผู้ใหญ่
เด็ก
ศีรษะ 18%
หน้าอก 18%
หลัง 18%
ขาซ้าย 13.5%
ขาขวา 13.5%
แขนซ้าย 9%
แขนขวา 9%
อวัยวะเพศ 1%
ผู้ใหญ่
คำนวณโดยแบ่งส่วนของร่างกายออกเป็นส่วนๆ ส่วนละ 9%
ศีรษะ 9%
แขนซ้าย 9%
แขนขวา 9%
หลัง 18%
ขาซ้าย 18%
ขาขวา18%
หน้าอก 18%
อวัยวะเพศ 1%
วิธีคำนวณ Lund Browder Chart
ในเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี
กรณีที่ขนาดการบาดเจ็บไม่ใหญ่มากหรือเป็นบริเวณกระจัดกระจาย อาจประมาณ โดยใช้
Rule of palm คือ หนึ่งฝ่ามือผู้ป่วยรวมนิ้วมือจะมีพื้นที่เท่ากับ 1%TBSA
ประเภทของแผลไหม้
เช่น แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก แผลส่วนใหญจะไม่ลึก ต่างกับไฟฟ้าแรงสูง บาดแผลมักจะลึกและมีการ ทำลายของเนื้อเยื่อมาก
อายุ
แผลไหมที่เกิดในเด็กเล็ก อัตราการตายจะสูงขึ้น โดยเฉพาะในช่วงอายุ ต่้ากว่า2 ปี
ประวัติความเจ็บป่วย
ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคปอด เป็นต้น ท้าให้อาการรุนแรงเพิ่มมากขึ้น และผลการรักษาแตกต่างกัน
นางสาวกรรณิการ์ จิตกุย ปี 2 ห้อง 1 เลขที่ 2 รหัส 611216702