Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการ ไหลเวียนเลือด (เลือดและของเหลวในร่างกาย…
การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำและการ
ไหลเวียนเลือด
Hemodynamic disorder
ความผิดปกติในส่วนประกอบและปริมาณของสารน้ำ
Edema
สาเหตุ
Hydrostatic pressure
การสูบฉีดเลือดผิดปกติ นำไปสู่การน้อยลงของ Cardiac output
Hydrostatic pressure ในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ทำให้ภายในหลอดเลือดมีแรงดันนำสารน้ำออกสู้เลือดเยื้อมากขึ้น นำไปสู้ภาวะบวม
พบในภาวะที่มีการคั่งของเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะเลือดคั่งจากหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure)
Pathophysiologic
Impaired venous return
congestive heart failure
congestive heart failure
liver cirrhosis – ascites
Venous obstruction or compression
thrombosis
external pressure
Congestive Heart Failure
Increased Central Venous Pressure
Decreased Renal Perfusion
Plasma oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
Plasma oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง
พบได้ในภาวะที่มีโปรตีน โดยเฉพาะอัลบูมินในเลือด
nephrotic syndrome, protein-losing enteropathy
ภาวะขาดสารอาหารรุนแรงในกลุ่มของ kwashiorko
Pathophysiologic
A decrease in osmotic pressure can result from
Increased albumin loss
Nephrotic Syndrome
Increased permeability of the glomerular capillary wall loss of protein
Reduced albumin synthesis
Cirrhosis
Protein malnutrition
การสูญเสียvascular permeability
Salt and water retention
ภาวะการท างานของไตผิดปกติ มีการลดลงของการกรองโซเดียม
hydrostatic pressure ก็เพิ่มขึ้นด้วย
การคัั่งของโซเดียมในท่อทำให้มีการดูดกลับน้ำเพิ่มขึ้น
ภาวะหัวใจล้มเหลวร่วมด้วย มีการคั่งของเลือดที่ทำให้ hydrostatic pressure เพิ่มขึ้น
effective circulatory volume ลดลง
การที่เลือดไปเลี้ยงไตลดลงจะกระตุ้นระบบ renin-angiotensin aldosterone
มีการดูดกลับน้ำและโซเดียมที่ท่อไตเพิ่มขึ้น
Pathophysiologic
Excessive salt intake with renal insufficiency- Increased tubular reabsorption of sodium
Renal hypoperfusion Increased renin-angiotensin-aldosterone
secretion Reabsorption of water Renal retention of sodium
and water ทำให้เกิด Edema
Lymphatic obstruction
การอุดตันของท่อทางเดินน้ำดี
สาเหตุการบวม
Elephantiasis
การบวมของแขนหลังการผ่าตัดมะเร็งที่มีการเลาะต่อมน้ำเหลือง
Pathophysiologic
Impaired lymphatic drainage with resultant lymphedema usually localized due
inflammation
neoplastic obstruction
Filariasis
A parasitic infection affecting inguinal lymphatics resulting in elephantiasis
Resection and/or radiation to axillary lymphatics in breast cancer patients
Carcinoma of breast with obstruction ofsuperficial lymphatics lymphatics can lead to edema of breast skin
ความสำคัญ
Mechanical effect
Prone to infection
Fibrosis
Congestion
เกิดขึ้นบริเวณด้านขวาของหัวใจ
เลือดไหลกลับมาไม่ได้ทำให้เกิดความแออัดทั่วร่างกาย โดยเฉพาะในตับ
เกิดขึ้นบริเวณด้านซ้ายของหัวใจ
hydrostatic pressure
Pulmonary edema
ปอดจะมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ ทึบ ไม่ลอยน้ำ
ภาวะเลือดคั่งในปอด
ภาวะปอดบวมน้ำ
Left ventricle failure
เมื่อส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์จะพบสารน้ำที่ย้อมสีชมพู
ภาวะเลือดคั่งในปอด
Acute passive congestion
ดูด้วยตาเปล่า
ปอดมีขนาดโตขึ้นเล็กน้อย
สีคล้ำขึ้น
ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์
มีเลือดออกใน alveoli
มีการบวมของ alveolar septum
alveolar capillaries เต็มไปด้วยเม็ดเลือดแดง
Chronic passive congestion
ระยะแรก
มีเลือดออกในถุงลม
นานเข้าจะเกิดภาวะ pulmonary edema
มีเลือดคั่งใน alveolar capillaries
สีคล้ำ
Hemorrhage
diapedesis
Petechiae
Purpura
Ecchymosis
rhexis
Hematoma
ผลกระทบ
brain herniation
hypovolemic shock
Shock
Hypovolemic
Cardiogenic
Neurogenic
Septic
Anaphylactic
Thrombosis
ก้อนเลือดนี้จะเกาะติดกับผนังของหลอดเลือดหรือผนังของหัวใจ
อุดกั้นไหลเวียนของเลือดได้ มากกว่า 90 %ของ thrombus
จากการที่เชื้อโรคจ าพวกแบคทีเรีย
หรือเชื้อรามาเกาะ ท าให้เกิดการท าลายลิ้นหัวใจ
ผลกระทบ
Infarction
Edema and obstruction of venous outflow
Emboli
Infection
Inflammation of the vessel wall
Embolism
Thromboemboli
Air (gas) emboli
Bone marrow emboli
Tumor emboli
Cholesterol emboli
Foreign body emboli
Amniotic fluid emboli
Fat embolism
ผลกระทบ
อักเสบ
ฝี
เกิดการอุดอั้น
มะเร็ง
Disseminated intravascular coagulation (DIC)
สาเหตุ
Infection
gram negative sepsis
fungal infection
meningococcemia
Neoplasm
carcinoma
promyelocytic leukemia
Massive tissue injury
trauma
burns
extensive surgery
พยาธิสภาพ
พบ fibrin thrombi จำนวนมากในเส้นเลือดฝอยทั่วร่างกายเนื้อเยื่อบริเวณข้างเคียงจะพบทั้ง microinfactและหย่อมเลือดออก
เลือดและของเหลวในร่างกาย
น้ำในร่างกาย
Intravascular fluid or plasma
น้ำที่อยู่ระบบไหลเวียนของเลือด มีประมาณ 20% of ECF
Interstitial fluid (IF)
น้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์ 2-8% of ECF เช่น Lymph
Transcellular fluid
เป็นน้ำที่อยู่รอบๆเซลล์ หรือน้ำตามช่องว่างระหว่างเซลล์ มีหน้าที่ช่วยทำให้เยื่อหุ้มสมองชุมชื่นอยู่เสมอ
Intracellular fluid
มีความสำคัญในขบวนการเมตาโบลิซึม
มีประมาณ 20-40% ของน้ำที่อยู่ในร่างกาย
ตัวกลางที่แยก Intracellular fluid, interstitial fluid and plasma
Plasma membrane
แยกIntracellular fluid ออกจาก interstitial fluid รอบตัว
Blood vessel wall
แยก interstitial fluidออกจาก plasma
การไหลเวียนของสารน ้าในร่างกาย
Hydrostatic Pressures
Capillary hydrostatic pressure (HPc)
Tends to force fluids through capillary walls
Greater at arterial end (35 mm Hg) of bed than at venule end (17 mm Hg)
Interstitial fluid hydrostatic pressure (HPif)
Pressure that would push fluid into vessel
Usually assumed to be zero because of lymphatic vessels
Colloid Osmotic Pressures
Capillary colloid osmotic pressure (oncotic pressure)
Created by nondiffusibleplasma proteins, which draw water toward themselves ~26 mm Hg
Interstitial fluid osmotic pressure (OPif)
Low (~1 mm Hg) due to low protein content