Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (Biophysicol Profile: BPP (ข้อดีและข้อจำกัดของ…
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
Non – Stress Test: NST
ความหมาย
วิธีการตรวจสอบสุขภาพทารกในครรภ์ วิธีหนึ่งที่นำเครื่องอิเลคโทรนิคสำหรับฟังเสียงหัวใจทารกตรวจดูการสนองของอัตราการเต้นหัวใจในขณะที่ทารกเคลื่อนไหว
-
-
-
-
วิธีการตรวจ
- จัดท่า semi-Fowler หรือ ท่านอนตะแคงซ้าย จะดีกว่าท่านอนหงายซึ่งมักทำให้เกิด supine hypotension มีผลต่อการแปลผล NST
-
3.ติดเครื่อง electronic fetal monitoring โดยติดหัวตรวจ tocodynamometer เพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ไว้ที่ตำแหน่งยอดมดลูก และหัวตรวจ FHR ไว้ที่ตำแหน่งหลังของทารกที่ได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจชัดที่สุด
-
การแปลผล
Reactive
การเพิ่มขึ้นของ FHR มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm และนานกว่า 15 วินาที อย่างน้อย 2 ครั้งในช่วงการตรวจ 20 นาที
-
-
แนวปฏิบัติ
-
ผล nonreactive
ให้ตรวจยืนยันด้วยวีธีอื่นเพิ่มเติม เช่น contraction stress tesr(CST) หรือ biophysical profile(BPP) หรือ Doppler ultrasound เป็นต้น
-
ปัจจัยที่มีผลต่อ NST
ปัจจัยทางมารดา
ได้รับยากดประสาท เช่น barbiturate opiate จะทำให้ระยะ 1F ยาวนานขึ้น ทำให้ variability และ acceleration ลดลง
การได้รับสารกระตุ้นบางอย่าง เช่น cocaine nicotine จะเพิ่ม baseline FHR แต่ละความแรงของ acceleration ทำให้ระยะเวลานาการตรวจนานขึ้น
ได้รับยาลดความดัน เช่น beta-blocking agent จะลดระดับ baseline FHR ให้ต่ำลงและลดความถี่ของการเกิด acceleration
ปัจจัยทางด้านทารกในครรภ์
อายุครรภ์ ถ้าก่อนกำหนดมาก ก็จะมี acceleration น้อย การเกิด acute hypoxemia จะมีผลทันทีทำให้ทารกเคลื่อนไหวลดลง และไม่ค่อยมี acceleration ของ FHR
ถ้าเป็น chronic hypoxia จะค่อยเกิด มักตรวจไม่เจอในทันทีต้องใช้เวลาเป็นวันหรือสัปดาห์ ขึ้นกับความรุนแรง
-
Biophysicol Profile: BPP
คววามหมาย
-
เพื่อลดผลบวกลวง เนื่องจากการทำ NST , CST อย่างเดียวมีอัตราผลลวง (ผลทดสอบปกติแต่ทารกผิดปกติ) ทำให้ตรวจไม่พบทารกที่อยู่ในภาวะอัตรารายได้หรือช้าเกินไป
-
-
หลักการ
ผลของ Fetal hypoxia กด Biophysical parameter ต่างๆ สรุป gradual hypoxla ว่า CNS ค่อนข้างดื้อต่อ hyperemia
คือ ตอบสนองช้ากว่าอวัยวะที่มีพัฒนาการก่อนถูกทำลายจาก Asphyxla ช้ากว่า ตามสมมุติฐานนี้ Fetal tone ซึ่งควบคุมด้วย Cartux-subcartical area พัฒนาการทำงานมาก่อน parameter อื่น
เมื่อเกิด hypoxia ก็กดหลังสุด อาจสรุปขั้นตอนการตอบสนองต่อ progress ต่างๆ hypoxemia acidosis ต่อ CNS center ในการควบคุม late deceleration และ accelesation รวมทั้ง biophysical activity ได้
-
-
เทคนิคการตรวจ
-
ในการทดสอบ BPP แต่ละครั้งควรตรวจวัดสัดส่วนอื่นๆ ด้วย (BPD, HC, AC, FL) และคัดกรองภาวะพิการโดยกำเนิด รวมทั้งรกไปด้วย
ตรวจวัดแอ่งน้ำคร่ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในแนวดิ่ง ในกรณีน้ำคร่ำมากพอ (แม้จะมี cord รวมด้วยก็ไม่เป็นไร) แต่ในรายน้ำคร่ำน้อยให้วัดแอ่งน้ำคร่ำในบริเวณที่ไม่มีสายสะดือรวมอยู่
ให้ใช้หัวตรวจคลื่นความถี่สูงตรวจแนวแกนยาวตามลำตัวทารก ซึ่งทำให้สามารถเห็นหน้า, แขนท่อนล่าง, มือ, ทรวงอก, จับเวลาเฝ้าสังเกตทารกจนกระทั่งสรุปได้ว่าทารกมี activity หรือจนครบ 30 นาที
แปลผลคะแนน
8-10 คะแนน
โดยที่ปริมาณน้ำคร่ำปกติ แปลผล ว่าทารกในครรภ์ยังปกติดี ไม่จำเป็นต้องรีบให้คลอด โอกาสเกิด asphyxia ใน 1 สัปดาห์ น้อยกว่า 1 ใน 1000
6-8 คะแนน
ให้พิจารณาตามปริมาณน้ำคร่ำ ถ้าน้ำคร่ำปกติ โอกาสเกิด asphyxia น้อย แต่ต้องตรวจ BPP ซ้ำใน 24 ชั่วโมง แต่ถ้าน้ำคร่ำน้อย โอกาสเกิด asphyxia สูงขึ้น
-
-
ข้อดีและข้อจำกัดของ BPP
- ผู้ตรวจที่ได้รับการฝึกอบรมมาโดยเฉพาะจะใช้เวลาในการทดสอบโดยเฉลี่ย 20 นาที
- เมื่อเทียบ CST แล้วมีผล false nagrative rate น้อยมากพอๆ กัน แต่ช่วยลด false positive ลง
- ให้ข้อมูลที่มีประโยชน์อื่นๆ เช่น จำนวนทารก, ท่า, ความเสี่ยงของ IUGR, ตำแหน่งรก และ grading
- อาจพบความพิการโดยกำเนิดสำคัญที่ไม่ได้ตรวจพบมาตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
- สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง
- ให้ความมั่นใจถึงความปกติของทารกในครรภ์ที่มีความเสี่ยง ทำให้สามารถประคับประคอง ยืดอายุครรภ์ไปจนเหมาะสม ป้องกันการทำ Intervention เร็ว โดยไม่จำเป็น
- ช่วยในการ moniter การติดเชื้อในรายถึงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด จึงป้องกัน sepsis ทั้งในมารดาและทารก
Fetal Doppler
-
-
เส้นเลือดที่ตรวจวัด
Umbilical arteries (UA)
คือ
เป็นเส้นเลือดที่สัมพันธ์โดยตรงกับสุขภาพทารกในครรภ์ เหมาะสมกว่าเส้นอื่นๆในการตรวจ Uteroplacental insufficiency สามารถตรวจหาได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องเห็นตำแหน่งของสายสะดือ
หลักการ
ในรายที่ทารกมีปัญหามักสัมพันธ์กับการไหลเวียนของเลือดมาที่รกลดลง มีความต้านทานที่รกเพิ่มมากขึ้น จากรูปคลื่น Doppler จะเห็นว่าการไหลในช่วง Diastole ลดลงมากกว่าปกติรูป
คลื่น Doppler ของ Umbilical artery จะมียอดคลื่นในช่วงหัวใจบีบตัว (Systole) และ End-diastolic velocity (EDV)ในปริมาณมาก ซึ่งแสดงถึงความต้านทานในรกต่ำ
วิธีตรวจ
ให้มารดานอนตะแคงซ้ายเล็กน้อย ยกศีรษะสูงเล็กน้อยวาง Doppler ที่หน้าท้องมารดาปรับหาตำแหน่ง Umbilical artery จนกระทั่งได้สัญญาณทั้งภาพและเสียงที่ชัดเจน
การทำมุมของคลื่นเสียงกับเส้นเลือดควรทำไม่ต่ำกว่า 30 องศา และไม่เกิน 55 องศาการประเมินรูปคลื่นควรมีรูปคลื่นให้แปลผลอย่างน้อยที่สุด 3-5 คลื่นซึ่งได้มาจากต่างมุมกัน
ทารกต้องอยู่ในภาวะสงบและไม่หายใจ เพราะ การหายใจของทารกทำให้ cardiac cycle สั้นเข้า มีผลให้การวัดคลาดเคลื่อน
ลักษณะเฉพาะ
รูปคลื่นของ Umbilical artery มี S/D ratio ค่อยๆลดลง เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น สะท้อนถึงความต้านทานที่รกลดลง โดยเริ่มที่อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ S/D ratio เท่ากับ 4.0 และลดลงเรื่อยๆ ประมาณ 30 สัปดาห์ S/D ratio ควรจะต่ำกว่า 3.0
-
-
Ductus venosus
คือ
เส้นเลือดดำที่นำ High oxygenated blood จากรกผ่านทาง Umbilical vein ผ่าน Foramen ovale เพื่อไปยัง left Atrium มีการไหลเวียนของเลือดเร็ว Doppler ของ Ductus venosus สามารถบอกการทำงานของ right ventricle ได้
หลักการ
ขณะที่ ventricular systole จะแสดงเป็น S wave และเมื่อ ventricular diastole จะแสดงเป็น D wave ซึ่งจะมีการไหลของเลือดผ่าน Ductus venosus ช่วง end diastolic filling จะมี right atrial contraction ให้เลือดไหลลง right ventricle
ทำให้แรงดันใน left atrium มากกว่า right atrium จึงทำให้ Foramen ovale ปิด resistance ก็เพิ่มขึ้นเลือดเข้าสู่หัวใจลดลง เกิดเป็น a wave
-
Uterine artery
-
หลักการ
จากEnd-diastolic velocity ที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่อายุครรภ์ 14-20 สัปดาห์ ซึ่งสะท้อนถึงการมี trophoblast บุกรุกเข้าผนัง spiral arterioles
ทำให้มีการขยายตัวและความต้านทานลดลง หลัง 20 สัปดาห์ S/D ratio จะลดลงเล็กน้อย และ diastolic notch ซึ่งเคยเห็นในช่วงแรกๆของอายุครรภ์ก็ควรจะหายไป หากยังคงอยู่ก็ใช้ทำนายได้ว่ามีโอกาสเกิด ภาวะ PIH
-
Ultrasound
ความหมาย
คลื่นเสียงความถี่สูงที่เกินกว่าหูมนุษย์จะได้ยิน (มากกว่า 20,000 เฮิซร์ต) ในการวินิจฉัยโรค
-
หลักการ
หลักการทำงานของเสียง เมื่อเปิดเครื่องอัลตร้าซาวด์ กระแสไฟฟ้าสลับที่ไหลเข้ามาภายในเครื่องจะผ่านหัวตรวจซึ่งภายในมีผลึก (Piezoelectric material) จะเกิดการสั่นสะเทือนและมีการปล่อยคลื่นเสียงความถี่สูงออกมาจากหัวตรวจ ผ่านลงสู่ผิวหนังเข้าไปยังอวัยวะภายในที่ต้องการตรวจ
เมื่อเสียงกระทบเนื้อเยื่อต่างชนิดกัน ก็จะเกิดการสะท้อนและการดูดกลับของเสียงไม่เท่ากันในเวลาที่ไม่เท่ากันตามระดับความลึกของเนื้อเยื่อนั้นๆ และจะถูกแปลผลให้ปรากฏเป็นภาพบนจอ
-
วิธีการตรวจ
ให้ดื่มน้ำและกลั่นปัสสาวะก่อนตรวจ ถ้าตรวจ ultrasound ทางหน้าท้องจะเปิดหน้าท้องแล้ใช้ครีมทาหน้าท้องและใช้หัวนำเสียงวางบนครีม
-
การตรวจในไตรมาสแรก
ทางหน้าท้อง (Transabdominal ultrasonography, TAS)
-
อายุครรภ์ (สัปดาห์)
-
5 wk 1 day– 5 wk 5 day
มองเห็นถุงไข่แดง (yolk sac) อยู่ภายใน chorionic cavity ซึ่งควรจะพบทุกรายเมื่อค่าเฉลี่ยของถุงการตั้งครรภ์มากกว่า 10 มิลลิเมตร ถ้าไม่พบโอกาสที่จะเป็นตัวอ่อนตายในครรภ์สูง ควรตรวจซ้ำอีก 1 สัปดาห์ถัดมา เพื่อยืนยันการวินิจฉัย
5 wk 6 day– 6 wk
พบตัวอ่อนยาวประมาณ 2 – 4 มิลลิเมตรและการเต้นของหัวใจ ควรจะเห็นตัวอ่อนเมื่อค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 20 มิลลิเมตร ถ้าไม่พบโอกาสที่จะเป็นตัวอ่อนตายในครรภ์สูง ควรตรวจซ้ำอีก 1 สัปดาห์ถัดมา
6 wk 1 day – 6 wk 6 day
ตัวอ่อนจะมีรูปร่างคล้ายรูปไตหรือถั่ว และเห็นถุงไข่แดงและ vitelline duct แยกออกจากตัวอ่อนชัดเจน ตัวอ่อนยาวประมาณ 4 – 10 มิลลิเมตร ถ้าไม่เห็นหัวใจเด็กสามารถวินิจฉัยว่าเป็นต้วอ่อนตายในครรภ์ได้
7 wk – 7 wk 6 day
ความยาวของตัวอ่อนจากหัวถึงก้น (Crown Rump Length) ประมาณ 11 – 16 มิลลิเมตร เห็นสมองส่วน rhombencephalon เป็นช่องว่างรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน แยกส่วนหัวและส่วนก้นออกจากกันได้ชัดเจน กระดูกสันหลังเห็นเป็นเส้นเข้มทึบ 2 เส้นขนานกัน เห็น amniotic membrane ซึ่งแบ่ง amniotic cavity ออกจาก chorionic cavity ได้ชัดเจน นอกจากนี้ยังเห็นสายสะดือด้วย
8 wk – 8 wk 6 day
ความยาวของตัวอ่อนจากหัวถึงก้น (Crown Rump Length) ประมาณ 17 – 23 มิลลิเมตร กะโหลกและสมองส่วน forebrain, midbrain และ hindbrain แยกจากกันได้ชัดเจน เริ่มเห็นตุ่มของแขนและขา บริเวณท้องตำแหน่งของสายสะดือจะมีไส้เลื่อนยื่นออกมา ซึ่งเป็นภาวะปกติในช่วงนี้ amniotic cavity ขยายออก สายสะดือและ vittelline duct ยืดยาวขึ้น
สิ่งที่ต้องตรวจได้
1.ตำแหน่งของถุงการตั้งครรภ์ เพื่อแยกการตั้งครรภ์นอกโพรงมดลูก ลักษณะถุงการตั้งครรภ์ ถุงไข่แดง(Yolk sac) ตัวอ่อนและความยาวของตัวอ่อน (Crown Rump Length)
-
-
-
-
-
-
-