Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ (ระบบการเงินการคลังสุขภาพ (วัตถุประสงค์…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
ระบบการเงินการคลังสุขภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของระบบสุขภาพที่พึงประสงค์
ส่งเสริมให้สถานประกอบการดูแลสุขภาพผนักงาน ลูกจ้าง
ใช้มาตรการทางภาษีควบคุมการบริโภคยาสูบและสุรา
ส่งเสริมให้มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ
การจัดการทางการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ ยึดเป้าหมาย 4 ประการ (SAFE)
มีความยั่งยืน (Sustainability)
มีความเพียงพอ (Adeguacy)
มีความเป็นธรรม (Fairness)
มีประสิทธิภาพ (Efficiency)
แหล่งทุนของการคลังสุขภาพ ภาครัฐ
รายจ่ายสุขภาพภาครัฐ คิดเป็น 3.7% ของGDP
รายจ่ายสุขภาพภาคเอกชน และครัวเรือน
การขยายความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชน อดีต-ปัจจุบัน
ปี 2518 : (บัตร สปร.)
ปี 2523 : สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
ปี 2526 : (บัตรประกันสุขภาพ 500 บาท/ครัวเรือน/ปี)
ปี 2533 : สิทธิประกันสังคมสำหรับลูกจ้างภาคเอกชน
ปี 2544 : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง)
องค์ประกอบหลัก
ของระบบการคลังเพื่อสุขภาพ
การจัดเก็บรายได้
เช่น ใช้มาตรการทางภาษีควบคุมการบริโภคยาสูบและสุรา
การรวมเงินเข้าเป็นกองทุน
เช่น กองทุนการดูแลรักษาค่าพยาบาล
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กองทุนข้าราชการ
กองทุนประกันสังคม
การซื้อบริการ
โครงสร้างองค์กรของระบบบริการสุขภาพไทย
รัฐบาล
กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่วนกลาง
ขึ้นต่อตรงกรมการแพทย์
โรงพยาบาลราชวิถี
โรงพยาบาลส่วนภูมิภาค
โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลเฉพาะทาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กระทรวงกลาโหม
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงมหาดไทย
เอกชน
โรงพยาบาลเอกชน
องค์กรสาธารณะ
การจัดระดับของโรงพยาบาล
ระดับ F3 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก 30 เตียง
ห้วยเกิ้ง ประจักษ์ศิลปาคม กู่แก้ว
ระดับ F2 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง 30-90 เตียง
กุดจับ หนองวัวซอ โนนสะอาด ทุ่งฝน ไชยวาน ศรีธาตุ วังสามหมอ สร้างคอม หนองแสง นายูง พิบูลย์์รักษ์
ระดับ F1 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ 90-120 เตียง
น้ำโสม เพ็ญ บ้านดุง
ระดับ M2 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 120 เตียงขึ้นไป
หนองหาน บ้านผือ
ระดับ M1 หมายถึง โรงพยาบาลทั่วไป
กุมภวาปี
ระดับ S หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่/โรงพยาบาลทั่วไป
ระดับ A หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลศูนย์อุดร
โครงสร้างการบริหารงานของกระทรวงสาธารณสุข ในปัจจุบัน
ราชการบริหารส่วนกลาง
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์
กรมการแพทย์
กรมการพัฒนาการแพทย์ไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมสุขภาพจิต
สำนักงานปลัดกระทรวง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สำนักงานศาธารณสุขอำเภอ
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชน
สถานีอนามัย
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข
กรมอนามัย
กรมควาบคุมโรค
กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนงานบริการสาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เครือข่ายบริการระดับจังหวัด
Level A โรงพยาบาลศูนย์
Level S โรงพยาบาลทั่วไป
Level M1 โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก
Level M2 โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย
Level F1-F2 เครือข่ายบริการทุติยภูมิ
Level P1-P-2 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ระบบการให้บริการสุขภาพ
การบริการสุขภาพ
ความหมาย
การจัดบริการเพื่อแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนในเรื่องของสุขภาพ และเป็นการยกระดับสุขภาพของประชาชนให้ดีขึ้น
จุดมุ่งหมาย
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรค
การรักษาพยาบาล
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
การจัดบริการสุขภาพ
การบริการระดับปฐมภูมิ
เป็นหน่วยบริการด่านแรก ที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด และกระจายอยู่ทุกตำบลและอำเภอ ให้การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลชุมชน
การบริการระดับทุติยภูมิ
ให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
โรงพยาบาลทั่วไป
ระดับจังหวัด
อำเภอขนาดใหญ่
โรงพยาบาลเอกชน
คลินิกเอกชน
การบริการระดับตติยภูมิ
ให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ที่ต้องปฏิบัติโดยแพทย์
หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เชี่ยวชาญพิเศษ
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่
โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสุขภาพไทย
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เปลี่ยนจากภาคการเกษตรกรรม ไปสู่ภาคอุตสาหกรรม
ปัจจัยด้านสังคม ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ปัจจัยด้านการเมืองและการปกครอง ความขัดแย้งทางสังคมเกิดการชุมนุมและประท้วง จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพ