Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ (การจัดการทรัพยากรทางสุขภาพ…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
แนวคิดและหลักการระบบสุขภาพไทย
ความหมาย
สุขภาพ
สภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทาง กาย จิต ปัญญา และสังคม
เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม อย่างสมดุล
ระบบสุขภาพ
มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่สุขภาพเฉพาะบุคคล
และกิจกรรมใดก็ตามที่ส่งผลต่อสุขภาพ
ระบบสาธารณสุข
การจัดการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ และการฟื้นฟูสมรรถภาพ *เป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
กรอบแนวคิดระบบสุขภาพ
เป้าหมาย
ประชาชนสุขภาพดี สามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ และปลอดภัย
องค์ประกอบหลัก
ระบบสารสนเทศสุขภาพ (Health Information System)
ผลิตภัณฑ์การแพทย์ (Medical product)
ระบบการเงินการคลัง (Financial System)
บุคลากรสุขภาพ (Health Workforce)
ภาวะผู้นำ และธรรมาภิบาล (Leadership/Governance)
การให้บริการ (Service Delivery)
ระบบสุขภาพที่ดี
ปัจจัย
กำลังคนด้านสุขภาพ
สถานบริการด้านสุขภาพ
ยาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
ผลลัพธ์
การเข้าถึงบริการสุขภาพ
ประสิทธิภาพและคุณภาพบริการสุขภาพ
ความเป็นธรรมของระบบบริการสุขภาพ
อดีต-ปัจจุบันของระบบสุขภาพไทย
ยุคที่1 ริเริ่มการแพทย์แผนปัจจุบัน
ยุคที่2 พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ สร้งโรงเรียนแพทย์
ยุคที่3 มีการตั้งโรงพยาบาล พัฒนาคลินิกเป็นโรงพยาบาลเอกชน มีสถานบริการสุขภาพร้านขายยา
ยุคที่4 เป็นยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การจัดการทรัพยากรทางสุขภาพ
ความหมาย
การใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม คุ้มค่า โดยยังคงคุณภาพ ประสิทธิภาพ
เกณฑ์การจัดการทรัพยากรสุขภาพ
ความจำเป็น
ความเหมาะสม
ความคุ้มค่า
มีประสิทธิผล
เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน/องค์กร
ประหยัดต้นทุน
ลดจำนวนวันนอน (ดูแลรักษาเหมาะสม ไม่เกินความจำเป็น)
ลดงบประมาณในการดูแลสุขภาพประชาชน
ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ
ระยะเวลาในการรักษาเหมาะสม
ความปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
ทรัพยากรทางสุขภาพ
ประกอบด้วย
บุคลากรด้านสาธารณสุข
แหล่งงบประมาณ
สถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ด้านสาธารณสุข
องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข
ประโยชน์ต่อระบบสุขภาพ
ค้นหา ทบทวน สาเหตุของการใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม และปรับปรุงกระบวนการ ทำให้การให้บริการสุขภาพมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
มีแผนการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสมกับระดับของการดูแลผู้รับบริการแต่ละคน
ปรับปรุงคุณภาพของการดูแล โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้รับบริการ ลดค่าใช้จ่าย
เหตุผล
ทรัพยากรมีจำกัด
ความต้องการใช้มีมากขึ้นเรื่อยๆ และไม่จำกัด
การตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากร ขึ้นอยู่บนพื้นฐานของประสิทธิผล และค่าใช้จ่าย