Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ (ความรุนแรงของการเก…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
บาดแผลไหม้ (Burns)
การที่ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายที่อยู่ในส่วนตื้นหรือที่อยู่ในชั้นลึกลงไป ถูกท้าลายจากการสัมผัสแหล่งพลังงาน
ประเภทของแผลไหม้
แผลไหม้จากกระแสไฟฟ้า (Electrical injury)
แผลไหม้จากสารเคมี (Chemical injury)
แผลไหม้จากความร้อน (Thermal injury)
แผลไหม้จากรังสี (Radiation injury
ความรุนแรงของการเกิดแผลไหม้
ประเมินโดยใช้ความลึกของแผลไหม้ (Degree of burn)
Second degree burn (2ํ burn)
Superficial partial thickness
ท้ำลายชั้นหนังก้าพร้าทั้งหมดและบางส่วนของ หนังแท้ ผิวจะมีสีแดง มีตุ่มพอง ปวดแสบมาก เพราะ มีเส้นประสาทรับความรู้สึกอยู่ในชั้นหนังแท้ ระยะ เวลาในการหายของแผลประมาณ 7-14 วัน มีแผลเป็น
Deep partial thickness
มีการทำลาย ของชั้นหนังก้าพร้าทั้งหมด ส่วนมากของหนังแท้จะ ถูกท้าลาย แต่ยังคงมีเหลืออยู่บ้างที่งอกขึ้นมาทดแทน กลับคืนเป็นผิวหนังได้ สีผิวจะเป็นสีขาว ซีด ตุ่มพองมีน้อยหรือแฟบ ความรู้สึกปวดแสบลดลง ระยะเวลาในการหายของแผลประมาณ 14-28 วัน จะเป็นแผลเป็นมาก
Third degree burn (3ํburn) หรือ Full thickness
หนังถูกท้าลายทุกชั้น อาจลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ หรือกระดูก แผลไหม้จะมีลักษณะขาว ซีด เหลือง ด้า หนาแข็ง ไม่มีอาการเจ็บปวด การหายของแผล ต้องใช้เวลานาน และต้องท้า skin graft ร่วมด้วย จะมีการดึงรั้งของแผลท้าให้ข้อยึดติด เมื่อหายแล้ว จะเป็นแผลเป็น
First degree burn (1ํ burn)
ทำลายเฉพาะชั้นหนังก้าพร้า มีสีชมพูหรือสีแดง มีความนุ่ม ไม่มีตุ่มพอง มี อาการปวดแสบ แผลหายได้เองภายใน 3-5 วัน
ประเมินโดยใช้ความกว้างหรือขนาดของ แผลไหม้ (Extent of burn)
Rule of nine ค้านวณโดยแบ่งส่วนของร่างกายออกเป็น ส่วนๆ ส่วนละ 9%
สำหรับเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปีจะมีสัดส่วนของศีรษะและลำคอเทียบกับลำตัวสูง ทำให้ไม่สามารถใช้ Rule of nines จึงมีการใช้ Formula อื่นในการประมาณ Burn size ได้แก่ Berkow หรือ Lund Browder Chart
3.อายุ (Age)
4.ส่วนของร่างกายที่ถูกไหม้ (Part of Body Burn)
5.การบาดเจ็บร่วม (Concurrent Injury)
ประวัติความเจ็บปุวย (Past Medical History)
ประเภทของแผลไหม้ (Type of Burn)
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเกิดแผลไหม้
Systematic effect
การเปลี่ยนแปลงของเลือด
อิเลคโตรไลท์และกรดด่าง
ผลกระทบต่อระบบหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ทางเดินหายใจ
ผลกระทบต่อการเผาผลาญอาหาร
ผลกระทบต่อภูมิคุ้มกัน
ผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร
ผลกระทบต่อกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
Localized effect
การเปลี่ยนแปลงเฉพาะที่เกิดที่ผิวหนังที่ได้รับบาดเจ็บโดยตรง ผิวหนังจะสูญเสียหน้าที่ในการควบคุมการระเหยของสารน้้าและเกลือแร่
ปัญหาและการพยาบาลผู้ป่วยแผลไหม้
ระยะวิกฤต (Acute phase)
เริ่มจากผู้ปุวยผ่านพ้นระยะ Resuscitative phase จนกระทั่งแผลหายพร้อมที่จะท้า skin graft
ปัญหาที่พบ
การติดเชื้อของแผล
ภาวะทุพโภชนาการ
ปัญหาความเจ็บปวด
การประคับประคองด้านจิตใจ
ระยะปรับตัว (Adaptive stage)
2-4 สัปดาห์จนถึงหลายเดือน ระยะนี้ปฏิกริยาตอบสนอง ทางจิตใจและอารมณ์ของผู้ปุวยขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพ ของแต่ละบุคคล
ระยะฟื้นตัว (Rehabilitation stage)
เกิดได้ตั้งแต่หลายเดือนจนถึงหลายปี ผู้ปุวยที่มีความหดรั้ง
บริเวณแผลไฟไหม้ที่ต้องท้ากายภาพบ้าบัด จะเกิดความวิตกกังวลได้หรือกรณีผู้ปุวยที่สูญเสีย ภาพลักษณ์ อาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้
ระยะเฉียบพลัน(Acute stage)
เริ่มตั้งแต่ วันแรกของการเกิดแผลไฟไหม้น้้าร้อนลวกจนถึง 2-4
สัปดาห์ ระยะนี้ผู้ปุวยจะพบการกดดันทางด้าน จิตใจมากทั้งจากกลัวเสียชีวิตจากแผลแผลไฟไหม้ น้้า
ระยะฟื้นฟู (Rehabilitative phase)
เป็นระยะที่แผลหาย ผู้ป่วยพร้อมที่จะกลับบ้านปัญหาที่พบในช่วงนี้ ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการทำหน้าที่ของส่วนต่างๆของร่างกายที่ไม่เหมือนเดิม
การพยาบาล
ให้ข้อมูลการดูแลรักษา การพยาบาลและระยะเวลาการหายของแผลโดยประมาณ
ให้โอกาสผู้ป่วยและบิดามารดาซักถามและตอบข้อสงสัย ประสานกับแพทย์ในการให้ข้อมูลผู้ปุวย ด้านแผนการรักษา
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปุวยและบิดมารดาตั้งแต่แรกรับให้เกิดความไว้วางใจ
ให้ผู้ปุวยและบืดามารดามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการ รักษาพยาบาลและการดูแลบาดแผล
ให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
พยาบาลควรพูดคุยให้ก้าลังใจ ตลอดจนดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดก่อนท้าแผลและบริหารร่างกาย
จัดกิจกรรมนันทนาการให้เกิดความเพลิดเพลินแก่ผู้ป่วยตามความต้องการและพัฒนาการของผู้ปุวย
ระยะฉุกเฉิน (Resuscitative phase or Emergent phase)
ระยะ 24-72 ชั่วโมงแรก
ปัญหาที่พบ
การหายใจบกพร่อง
ความเจ็บปวดทางร่างกายและทาง จิตใจ
มีการสูญเสียสารน้้าจ้านวนมาก
การพยาบาล
ป้องกันภาวะ respiratory distress
ป้องกันการเกิดภาวะ hypovolemic shock
ดูแลให้ผู้ปุวยได้รับสารน้้าทดแทน ตามแผนการรักษา
ตรวจสอบสัญญาณชีพ ทุก 15 – 30 นาที ในชั่วโมงแรกๆ และต่อไปทุก 1 ชั่วโมง หรือตามสภาพผู้ป่วย
ตวงและบันทึกจ้านวนปัสสาวะ ทุกชั่วโมง สังเกตลักษณะสี รวมทั้งหาค่าความถ่วงจ้าเพาะ
การดูแลผู้ปุวยเมื่อแรกรับ 2-4 ชั่วโมงแรก
ในกรณีที่ผู้ปุวยหายใจลำบากจาก circumferential full thickness burn ที่อก ต้องเตรียมผู้ปุวยทำ escharotomy ทันที
ให้ออกซิเจน ช่วยหายใจ ถ้ามีพิษ จากคาร์บอนมอนนอกไซด์ ให้ออกซิเจนที่มีความ เข้มข้น 100%
เตรียมอุปกรณ์และช่วยแพทย์ ในการใส่ท่อหายใจ