Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage : PPH) (การพยาบาล…
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage : PPH)
ความหมาย
คลอดทางช่องคลอด (NL) > 500 cc ขึ้นไป
ผ่าตัดคลอด (C/S) >1,000 cc ขึ้นไป
เกณฑ์การวินิจฉัย
สาเหตุ PPH ใช้หลัก 4T
Trauma : การฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue : รก/เศษรกค้างในโพรงมดลูก (Retained placenta)
Tone : มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (uterine atony) พบบ่อยที่สุด
Thrombin : ความผิดปกติในกลไกการแข็งตัวของเลือด
อาการและอาการแสดง
มีอาการแสดงของการเสียเลือด
ซีด
ใจสั่น
ตัวเย็น
เหงื่อออก
ชีพจรเบาเร็ว
BP drop
หายใจเร็วระยะแรก ต่อไปจะช้าลง
ปัสสาวะออกน้อย
ถ้ารุนแรง ช็อก ไม่รู้สึกตัว และอาจเสียชีวิต
คลำหน้าท้อง พบยอดมดลูกอบู่เหนือระดับสะดือ มีขนาดใหญ่ นิ่ม
มีเลือดออก
การวินิจฉัย
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจการฉีกขาดของทางช่องทางการคลอดและปากมดลูก
ตรวจร่างกายดูอาการแสดงของการเสียเลือด
ตรวจว่ารกออกมาครบหรือไม่
คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด > 500 ml
ตรวจสอบการแข็งตัวของเลือด
ซักประว้ติการตั้งครรภ์ การคลอด โรคประจำตัว
ถ้ามีอาการช็อก โดยเลือดที่ออกมาไม่ได้สัดส่วนกับปริมาณเลือดที่เสียไป แสดงว่าอาจมีภาวะมดลูกแตก
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดภาวะ Sheehan's syndrome
ไม่มีน้ำนมหลังคลอด ไม่มีประจำเดือน เต้านมเล็กลง
อาจต้องตัดมดลูก ถ้าควบคุมการตกเลือดไม่ได้
เกิดภาวะซีด อ่อนเพลีย เป็นลง หมดสติ ติดเชื้อหลังคลอดได้ง่าย
อาจเสียชีวิตได้
การรักษา
กรณีรกค้าง ให้ล้วงรกหรือขูดมดลูก
กรณีช่องคลอดฉีกขาด ให้เย็บซ่อมแซม
กรณี uterine atony
คลึงมดลูก
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
cytotec
methergine
syntocinon
ใส่สายสวนปัสสาวะ
Bimanual uterine compression
กรณีตกเลือดไม่หยุด อาจจ้องผ่าตัดผูกเส้นเลือด/ตัดมดลูก
รักษาแบบประคับประคอง
ให้เลือด
หาสาเหตุและให้การรักาาตามสาเหตุ
ให้ยา ATB กรณีมีการอักเสบในโพรงมดลูก
การพยาบาล
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
7.ถ้าเลือดออกมากเนื่องจากรกค้าง ให้รายงานเพทย์เพื่อเตรียมขูดมดลูก
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด ถ้าเลือดออกมากให้สารน้ำทดแทน และรายงานแพทย์
ถ้าเลือดออกเนื่องจากการฉีกขาดของช่องทางคลอด เย็บแผลที่ฉีกขาด
4.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลให้เลือดตามแผนการรักษาและสังเกตภาวะแทรกซ้อน ประเมิน Hct. หลังให่เลือด
จัดท่าให้นอนหงายราบ/ศีรษะต่ำ
ประเมินและเฝ้าระวังอาการแสดงของภาวะช็อก
ประเมิน V/S q 15 min
ดูแลให้ได้รับ O2 ตามแผนการรักษา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก คลึงมดลูกให้กลมแข็ง
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ Record I/O
การตกเลือดแบบทุติยภูมิ (Delayed PPh)
ความหมาย
เสียเลือดหลังทารกเกิดเกิดแล้วมากกว่า 500 cc /เกินร้อยละ1 ของน้ำหนักตัวมารดา ภายหลัง 24 ชม. และภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุ
มีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก ปากมดลูก ช่องทางคลอด
มีการติดเชื้อในโพรงมดลูก
มีเศษรกค้าง
อาการและอาการแสดง
ความสูงของยอดมดลูกไม่ลดลงตามปกติ
อาการเจ็บปวดบริเวณมดลูก อุ้งเชิงกราน และหลัง
มีเลือดออกทางช่องคลอด น้ำคาวปลาผิดปกติ (Foul lochia)
มีไข้ และอ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย
การวินิจฉัย
มีเลือดออกทางช่องคลอด
มักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์ (ส่วนมากช่วง 4-9 วันหลังคลอด)
การรักษา
บริเวณอุ้งเชิงกรานและหลัง การกดเจ็บที่บริเวณมดลูก มีอาการไข้
ผล Lab ดู RBC Hb Hct. WBC Plt.
ลักษณะของน้ำคาวปลา การเปลี่ยนแปลงของน้ำคาวปลาในแต่ละระยะ
ตรวจร่างกาย ประเมินความรุนแรงของการเสียเลือด ประเมินยอดมดลูก
ให้ความรูมารดาหลังคลอด ให้สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาตรวจก่อนกำหนดนัด เช่นการตกเลือด สี กลิ่นของน้ำคาวปลา ความสูงของยอดมดลูกไม่ลดลง
ประเมิน V/S
การพยาบาล
การให้เลือดทดแทน และการให้ยาส่งเสริมการหดรัดตัวของมดลูด และยา ATB
ส่งเสริมความสุขสบาย ดูแลการพักผ่อน รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กและโปรตีนสูง
สังเกตลักษณะน้ำคาวปลา วัดระดับคสามสูงของยอดมดลูก
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเม่อกลับบ้านและสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนกำหนดนัด
ถ้ายังมีเลือดออกเรื่อยๆ มักได้รับการขูดมดลูก ถ้าเลือดยังไม่หยุดไหลแพทย์อาจพิจารณาตัดมดลูก
ดูแลทางด้านจิตใจ
ผู้จัดทำ นศพต.เนติธร ใจงิ้วคำ ชั้นปีที่3 เลขที่ 30 วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ