Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ (การได้รับสารพิษ…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
การจมน้้า (Drowning)
การจมน้ำจืด
ท้าให้เกิดภาวะปอดแฟบ เนื่องจากน้้าจืดจะท้าลายสารเคลือบผนังถุงลม (surfactant) น้้าจะถูกดูดซึมเข้าหลอดเลือดอย่างรวดเร็ว
การจมน้ำเค็ม
hypertonic solution ท้าให้ปริมาณเลือดต่้า เลือดเข้มข้น Hct สูง electrolyte ในเลือดสูง โปรตีนและน้้าออกจากหลอดเลือดถูกดึงให้ซึมเข้ามาอยู่ในถุงลมปอด ท้าให้ถุงลมปอดแตก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ตรวจสอบอาการแม้เด็กจะหายใจได้ดีในระยะแรก
ถ้าเด็กจมน้้าเกิน 4 นาที อาจท้าให้เกิดภาวะสมองตายได้ ต้องรีบทำการช่วยฟื้นคืนชีพ (cardiopulmonary resuscitation - CPR)
ถอดเสื้อผ้าที่เปียกน้ำออก ใช้ผ้าเช็ดตัวหรือผ้าห่มที่แห้งสะอาดเช็ดตัว และคลุมตัวไว้
รีบอุ้มขึ้นจากน้ำ โดยให้ศีรษะต่ำกว่าทรวงอก
การป้องกัน
ไม่ให้เด็กเล็กอาบน้ำตามลำพัง
ใช้ฝาปิดภาชนะต่าง ๆ ที่บรรจุน้ำเช่น บ่อน้ำ ถังน้ำ ส้วมชักโครก เป็นต้น
ดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เด็กเล่นใกล้แหล่งน้ำ หรือว่ายน้้าในสระน้ำโดยลำพัง
ปิดประตูห้องน้ำไว้ตลอด
สอนให้เด็กว่ายน้ำ
ให้เด็กใส่เสื้อชูชีพเมื่ออยู่ในเรือ ตามค้าแนะนำของเจ้าหน้าที่
การได้รับสารพิษ
acute poisoning
เกิดอาการทันที
Chonic poisoning
สะสมไว้ในร่างกายแล้วเกิดอาการภายหลัง
การเกิดพิษ (poisoning)
การที่ร่างกายได้รับอันตรายจากสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
หลักการรักษาเมื่อเด็กได้รับสารพิษ
ป้องกันการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
กรณีรู้สึกตัวดี ควรให้ดื่นน้ำ หรือนม เพื่อท้าให้สารพิษเจือจางลง และลดการระคายเคือง
การให้ Activated charcoal ให้ผลดีถ้าให้ภายใน 2 ชั่วโมง หลังจากกินสารพิษควรให้หลังที่กระตุ้นให้อาเจียน
ลดอันตรายของสารพิษโดยการให้ยาแก้พิษ (antidotes)
ผู้ป่วยที่ควรได้รับไว้ในโรงพยาบาล
กินสารที่มีพิษมาก เช่น iron salts, aspirin, กรดด่าง แม้จะไม่มีอาการหรือ อาการแสดง
กรณีที่ประวัติการกินสารพิษไม่ชัดจนหรือไม่แน่ใจ
กรณีที่จ้าเป็นต้องใช้ specific antidote
เอาสารพิษออกจากร่างกายให้มากที่สุด และรวดเร็วที่สุด
การทำให้อาเจียน
การล้างท้อง (Gastric lavage)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า หรือให้ยาที่ทำให้ปัสสาวะเป็นด่าง
การประคับประคองสัญญาณชีพให้เป็นปกติตลอดเวลาขณะให้การรักษา
การประคับประคองสัญญาณชีพให้เป็นปกติตลอดเวลาขณะให้การรักษา
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา หู จมูก คอ
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ไม่เอาสิ่งแปลกปลอมออกเอง
ส่งโรงพยาบาล
ถ้าเป็นแมลงเข้าหู ให้เด็กนั่งลง ตะแคงศีรษะให้หูที่มีแมลงเข้าไปอยู่ด้านบน หยอดน้้ามันพืช หรือน้้าลงไปในรูหู แมลงจะลอยขึ้นมา และหยิบแมลงออก ถ้าไม่ได้ผลน้้าส่งโรงพยาบาล
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้เด็กสั่งน้้ามูกแรงๆ โดยเอามือปิดรูจมูกข้างที่ไม่มีสิ่งแปลกปลอม
ถ้าสิ่งแปลกปลอมนั้นอยู่ไม่ลึก ให้ใช้คีมปากเล็กๆคีบวัตถุนั้นออกมา โดยให้เด็กก้มหน้าเล็กน้อย เพื่อป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในจมูกมากขึ้น
ปลอบโยนเด็กอย่าให้ตกใจ
นำส่งโรงพยาบาลถ้ายังมีสิ่งแปลกปลอมติดอยู่
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ใช้น้้าสะอาดราดผ่านตาเบาๆจากหัวตาไปหางตา โดยเอียงหน้าให้ตาข้างที่มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ด้านล่าง ถ้าเป็นเด็กโตให้ลืมตาในน้้า
ถ้าล้างตาแล้วสิ่งแปลกปลอมไม่หลุดออก อาจใช้วิธีเขี่ย
ห้ามขยี้ตา
ถ้าเขี่ยสิ่งแปลกปลอมไม่ออก ให้ปิดตาเด็กทั้งสองข้างเพื่อไม่ให้กรอกลูกตาไปมา
สารเคมีเข้าตา
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ล้างตา โดยตะแคงหน้าให้ตาด้านที่ถูกสารเคมีอยู่ด้านล่าง ใช้น้้าล้างอย่างน้อย 10 นาที จากหัวตาไปหางตา ระวังอย่าให้น้้ากระเด็นไปถูกตาอีกข้าง
ปิดตาข้างที่ถูกสารเคมีโดยผ้ากอซหรือผ้าสะอาด
ไม่ขยี้ตา
ส่งรพ.
สิ่งแปลกปลอมเข้าคอ และหลอดลม
อาการและอาการแสดง
เด็กจะมีอาการหายใจเข้ามีเสียงดัง (stridor) หายใจเข้าลำบาก
หน้าอกบุ๋ม มีอาการไอ และมีอาการเขียว เป็นผลให้เด็กขาดออกซิเจน และเสียชีวิตได้
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้น
เด็กทุกกลุ่มอายุที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจไม่เต็มที่ ยังหายใจได้เอง พูดได้ ไอได้แรงดี
ควรแนะนำ ให้เด็กไอแรง ๆ เพื่อให้วัตถุแปลกปลอมหลุดออกมา
เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ใช้วิธี Five back blows and five chest thrusts
จับเด็กนอนคว่้าหน้าบนแขนของผู้ให้การช่วยเหลือ ให้ศีรษะต่้ากว่าล้าตัว ใช้มือจับบริเวณขากรรไกรของเด็กเพื่อยึดให้ศีรษะและคอของเด็กนิ่งไม่เคลื่อนไหว
ใช้ส้นฝ่ามือตบแรง ๆ บริเวณทรวงอกด้านหลังระหว่างกระดุกสะบักต่อเนื่อง 5 ครั้ง
ถ้ายังหายใจไม่ได้ให้ใช้มือและแขนอีกข้างของผู้ให้การช่วยเหลือจับศีรษะและแผ่นหลังของเด็กให้อยู่ระหว่างแขนทั้ง 2 ข้าง แล้วพลิกตัวเด็กกลับมานอนหงาย
ใช้นิ้วมือ 2 นิ้วกระแทกหน้าอกเด็กบริเวณ sternum ส่วนล่างต่้ากว่าระดับ nipples เล็กน้อย (การกระแทกท้าเช่นเดียวกับการท้า Cardiopulmonary resuscitation) ท้าติดต่อกัน 5 ครั้ง
เด็กอายุมากกว่า 1 ปีที่มีอาการแสดงของทางเดินหายใจอุดตันเต็มที่
Heimlich maneuver หรือ subdiaphragmatic abdominal thrusts สำหรับเด็กที่ยังรู้สึกตัว
กำมือข้างหนึ่งให้ด้านนิ้วหัวแม่มือ วางบนท้องเด็กบริเวณกึ่งกลางสูงกว่าสะดือเล็กน้อย ใกล้กับปลายของกระดูกหน้าอก (Xyphoid process
ใช้อีกมือจับมือข้างที่ก้าอยู่แล้วกระแทกขึ้นด้านบนเร็ว ๆ เป็นจังหวะต่อเนื่องกัน 5 ครั้ง
ยืนข้างหลังเด็กสอดแขนใต้รักแร้ของเด็กเพื่อโอบรอบล้าตัวเด็กบริเวณเอว
เปิดปากโดยวิธี tongue-jaw lift technique
ถ้าเห็นวัตถุแปลกปลอมหลุดออกมาให้หยิบออกแล้วช่วยหายใจจนเด็กหายใจได้เอง
ถ้ายังมีวัตถุแปลกปลอมค้างอยู่ให้ท้า abdominal thrustsซ้้าจนกระทั่งสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาและช่วยหายใจต่อไป
การป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าตา หู จมูก คอ หลอดลม
ไม่ควรเล่นกับเด็ก หรือท้าให้เด็กหัวเราะเวลารับประทานอาหาร
เลือกของเล่นให้เหมาะกับวัยของเด็กแต่ละวัย
ไม่ควรให้เด็กรับประทานของที่เหนียว ผลไม้ที่มีเมล็ดมาก
เรียนรู้วิธีการช่วยเหลือเมื่อสิ่งแปลกปลอมเข้าตา หู จมูก คอ หลอดลม
เก็บอุปกรณ์ต่างๆให้เรียบร้อย โดยเฉพาะสิ่งของที่มีขนาดเล็ก