Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างสุขภาพสำหรับวัยผู้สูงอายุ (ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ…
การเสริมสร้างสุขภาพสำหรับวัยผู้สูงอายุ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความชราที่มีผลต่อปัญหาสุขภาพ
ระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ
ระบบผิวหนัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบประสาท
ระบบประสาทสัมผัส
ระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่ายและระบบสืบผันธุ์
ระบบต่อมไร้ท่อ
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ปัญหาความเจ็บป่วยเรื้อรัง
การปลดเกษียณหรือการออกจากงาน
การเปลี่ยนแปลงทางครอบครัวและสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ
ปัญหาการทรงตัว
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ปัญหาการนอนหลับ
โรคกระดูกพรุน
โรคความดันโรหิตสูง
โรงเบาหวาน
ภาวะซึมเศร้า
ภาวะสมองเสื่อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับกสนสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แนวคิดพฤฒพลัง หมายถึงกระบวนการของกาารามีสุขภาพที่สมบูรณ์ การมีส่วนร่วมและการมีหลักประกันเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตเมื่อสูงวัย
ทฤษฎีบทบาททางสังคม บทบาทนี้จะส่งผลไปถึงการยอมรับบทบาททางสังคมที่จะเปลี่ยนแปลงในช่วงวัยสูงอายุ
ทฤษฎีการสร้างเสริมพลังอำนาจ เป็นกระบวนการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุตระหนักรู้ สำรวจปัญหา และวิธีการการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง คือความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถของตนเองที่จะจัดการภายใต้สถานการณ์ต่างๆ
กลวิธีการเสริมสร้างสุขภาพ
วิธีการสร้างแรงจูงใจร่วมกับการพัฒนาทักษะ
การสอนสุขศึกษา เป็นกระบวนการเชิงองค์รวมมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและปรับปรุง
การเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเอง
การสร้างพลังอำนาจ
กลวิธีการปรับปรุงเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การสร้างเสริมพฤติกรรมออกกำลังกาย
การสร้างเสริมพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร
การสร้างเสริมศุกยภาพในการจัดการกับความเครียด
บทบาทพยาบาลในการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ
ประเมินสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น ประวัติการรักษาและการรับประทานยา ประวัติหกล้ม การมองเห็น การได้ยิน
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถสำรวจความต้องการ ความรู้สึก ปัญหาสุขภาพ สามารถวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพด้วยต้นเองได้
สอนและให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วใลมและปัจจัย ด้านความเชื่อ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของผู้สูงอายุ
สร้างคุณค่าและแรงจูงใจให้ผู้สูงอายุ ได้เกิดความตระหนักและพัฒนาทักษะจากการสังเกตและฝึกปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพจากประสบการณ์
ประสานความร่วมมือระหว่างทีมสุขภาพกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เช่น กองทุนส่ง้สริมสวัสดิการผู้สูงอายุและครอบครัวในชุมชน
สร้างสัมพันธภาพ ที่ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกปลดภัยและมีอิสระ
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา 624N46136