Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของ โลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของ โลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์
ปรากฏการณ์ระหว่างดวงจันท์ โลกและดวงอาทิตย์
สุริยุปราคา หรือ จันทรุปราคา
ปรากฏการณ์ น้ำขึ้น-น้ำลง
น้ำทะเลขึ้นสูงสุด/ต่ำสุด หรือน้ำเกิด
แรม 14 ค่ำ หรือ แรม 15 ค่ำ และขึ้น 15 ค่ำ
ดวงจันทร์ โลกและดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
แรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่กระทำต่อโลกจะเสริมกันสูงสุด
ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้นสูงสุดขณะที่ตําแหน่งบนผิวโลกที่มีทิศตั้งฉากกับดวงจันทร์
ทำให้เกิดปรากฏการณ์น้ำลงสูงสุดขณะที่ตําแหน่งบนผิวโลกที่มีทิศตั้งทางตรงกันข้ามกับดวงจันทร์
น้ำตาย
แรม 8 ค่ำ และ ขึ้น 8 ค่ำ
ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ทำมุมตั้งฉากกัน 90 องศา
แรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่กระทำต่อโลกจะไม่เสริมกันซึ่งระดับน้ำที่ขึ้นสูงสุดกับระดับน้ำที่ลงต่ำสุดจะไม่แตกต่าง
ดวงอาทิตย์
โครงสร้าง
แกนกลาง
การอัดตัวของกลุ่มกาซไฮโดรเจน
ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์
เขตแผ่รังสีความร้อน
พลังงานจากแกนกลางแผ่รังสีออกมา
5000-6000 องศาเซลเซียส
เขตพาความร้อน
ชั้นโฟโตสเฟียร์
ชั้นโครโมสเฟียร์
คอโรนา
การเคลื่อนที่ปรากฏ
เส้นสุริยวิธี
เส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏโคจรไปบนฟ้า ผ่านกลุ่มดาว รอบ 1 ปี
มุม 23 1/2 องศา
ตะวันอ้อมข้าว
การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ค่อนไปทางทิศใต้
ลมสุริยะ
แสงเหนือ แสงใต้
การเร่งอนุภาคของลมสุริยะเข้าสุ๋ขั้วโลก
แล้วทำปฏิกิริยากับชั้ยบรรยากาศโลก
โลก
การเคลื่อนที่
หมุนรอบตัวเอง
1 รอบใช้เวลา 23 ชั่วโมง 56 นาที่ 12 วินาที
ทำให้เกิดกลางวัน และกลางคืน
จากทิศตะวันตกไปตะวันออก
15 องศา
หมุนรอบดวงอาทิตย์
เกิดฤดูกาล
ดวงจันทร์
แรงโน้มถ่วงน้อยกว่าโลก 1/6 เท่า
การเคลื่อนที่
หมุนรอบตัวเอง
โคจรรอบดวงอาทิตย์
โคจรรอบโลก
ข้างขึ้น-ข้างแรม
เดือนมืด (New Moon) ตรงกับแรม 15 ค่ำ
เป็นตำแหน่งที่ดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ จะมองเห็นดวงจันทร์ด้านที่ไม่มีแสงอาทิตย์มาตกกระทบ
วันเพ็ญ (Full Moon) ตรงกับขึ้น 15 ค่ำ
เป็นตำแหน่งที่ดวงจันทร์อยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ซึ่งแสงจากดวงอาทิตย์จะตกกระทบตั้งฉากกับดวงจันทร์พอดี
ข้างแรม : แรม 1 ค่ำ จนถึงแรม 14-15 ค่ำ
จันทร์ครึ่งดวงครั้งสุดท้าย แรม 8 ค่ำ
เห็นตั้งแต่เวลาเที่ยงคืนโดยประมาณ และตกลับขอบฟ้าในตอนเที่ยงวันของอีกวันหนึ่ง
แรม 1 ค่ำ จนถึงแรม 7 ค่ำ
เห็นได้ตั้งแต่ตอนหัวค่ำจนถึงเที่ยงคืนด้านทิศตะวันออก
แรม 9 ค่ำ จนถึงแรม 14 -15 ค่ำ
เห็นค่อนข้างดึกจนถึงใกล้รุ่งเช้า โดยหันด้านเสี้ยวสว่างเข้าหาดวงอาทิตย์ด้านทิศตะวันออก
ข้างขึ้น : ขึ้น 1 ค่ำ จนถึงขึ้น 14-15 ค่ำ
ขึ้น 1 ค่ำจนถึง ขึ้น 7 ค่ำ
เห็นอยู่บนท้องฟ้าด้านทิศตะวันตกตอนหัวค่ำ
จันทร์ครึ่งดวงครั้งแรก ขึ้น 8 ค่ำ
เห็นตั้งแต่เวลาเที่ยงวันแล้วจะตกลับฟ้าในตอนเที่ยงคืน
ขึ้น 9 ค่ำจนถึงขึ้น 14-15 ค่ำ
เห็นได้ในตอนกลางวันทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกตั้งแต่หลังเที่ยงวัน
1 รอบ ใช้เวลา 27 1/3 วัน