Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความเครียดและความวิตกกังวล (Stress and Anxiety) (ความเครียด (Stress)…
ความเครียดและความวิตกกังวล (Stress and Anxiety)
ความเครียด (Stress)
ระดับของความเครียด
(กรมสุขภาพจิต, 2542)
ความเครียดสูงกว่าปกติเล็กน้อย
ความเครียดสูงกว่าปกติปานกลาง
ความเครียดปกติ
ความเครียดสูงกว่าปกติมาก
ความเครียดต่ำกว่าปกติ
(Frain & Valiga, 1979)
ความเครียดระดับต่ำ (mild stress)
ความเครียดระดับปานกลาง (moderate stress)
ความเครียดที่เกิดขึ้นตามปกติในชีวิตประจำวัน (day-today
reaction)
ความเครียดระดับสูงหรือรุนแรง (severe stress)
ผลกระทบของความเครียด
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
อาการและอาการแสดง
ด้านจิตใจ
สมาธิและความสนใจลดลง การตัดสินใจไม่ดี หลงลืมง่าย
ด้านอารมณ์
วิตกกังวล ประหม่า หงุดหงิด/ฉุนเฉียวง่าย
ด้านร่างกาย
PR และ BP เพิ่มขึ้น ใจสั่น หายใจสั้นหรือเร็ว เป็นต้น
ด้านพฤติกรรม
ขยุกขยิก อยู่ไม่นิ่ง กัดเล็บ ตะโกนร้อง
ชนิดของความเครียด
เครียดตามสาเหตุ
ความเครียดเชิงบวก (eustress)
ความเครียดเชิงลบ (distress)
เครียดตามระยะเวลา
ความเครียดแบบเฉียบพลัน (acute stress)
ความเครียดแบบเรื้อรัง (chronic stress)
แนวคิดของเซลเยและกลุ่มอาการปรับตัวโดยทั่วไป
เซลเย (Selye, 1976) อธิบายเกี่ยวกับความเครียดว่าเป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด (stressor) ที่มากระทบ ซึ่งก่อให้เกิดกลุ่มอาการทางร่างกายที่ไม่เฉพาะเจาะจงเรียกว่า กลุ่มอาการปรับตัวโดยทั่วไป
ระยะต่อต้าน (resistance stage)
ระยะหมดกำลัง (exhaustion stage)
ระยะเตือน (alarm stage)
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด
ปัจจัยภายนอกบุคคล
สถานการณ์ในสังคม
เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน
เหตุการณ์สำคัญในชีวิต
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ปัจจัยภายในบุคคล
ลักษณะบุคลิกภาพ
ความคิดที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริง
ความเครียด หมายถึง การตื่นตัวของร่างกายและจิตใจ ที่เตรียมรับกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งบุคคลคิดว่าไม่น่าพอใจ เป็นเรื่องที่หนักหนาสาหัสเกินกำลัง
ความวิตกกังวล (Anxiety)