Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์
ANC
preg (Problem risk :explode: (สตรีตั้งครรภ์ GA…
การดูแลหญิงตั้งครรภ์
ANC
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 23 ปี G1P0-0-0
EDC by date : 2 เมษายน 2563
GA 7 wk 5 day
LMP : 27 มิถุนายน 2562 X 7 วัน
มาฝากครรภ์ทั้งหมด 11 ครั้ง
มาฝากครรภ์ครั้งแรก : 20 สิงหาคม 2562 GA 7 wk 5 day
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการแพ้ยา : ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด : เข้ารับการผ่าตัดเต้านม ปี 2560
การได้รับวัคซีนบาดทะยัก : ยังไม่ครบ 2 เข็ม
- เข็มที่ 1 : 19 กันยายน 2562
- เข็มที่ 2 : 31 ตุลาคม 2562
- เข็มที่ 3 : ยังไม่ได้รับ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 48 kg. ส่วนสูง 166 cm.
BMI : 17.42 (น้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน)
น้ำหนักปัจจุบัน 55.5 kg. GA 39 wks 4 day
Total weight gain : 11.0 kg.
Total weight gain
ไตรมาสแรก
- ในไตรมาสที่ 1 สตรีตั้งครรภ์มี น้ำหนักลด :no_entry: 1.3 kg.
:warning::นํ้าหนักที่ควรเพิ่มขึ้นช่วงในไตรมาสแรก คือ 2.3 kg.
ไตรมาสที่ 2
- ในไตรมาสที่ 2 สตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 6.2 kg
น้ำหนักเพิ่มขึ้นแต่ละสัปดาห์คิดเป็น 0.8 kg./wk :check:
น้ําหนักที่ควรเพิ่มขึ้นแต่ละสัปดาห์ในช่วงไตรมาสที่สองและสาม คือ 0.5 kg.
ไตรมาสที่ 3
- ในไตรมาสที่ 3 สตรีตั้งครรภ์มี น้ำหนักเพิ่มขึ้น 3.5 kg.
น้ำหนักเพิ่มขึ้นแต่ละสัปดาห์คิดเป็น 0.35 kg./wk
:warning:น้ําหนักที่ควรเพิ่มขึ้นแต่ละสัปดาห์ในช่วงไตรมาสที่สองและสาม คือ 0.5 kg.
total weight gain
- ตลอดการตั้งครรภ์สตรีตั้งครรภ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 11.0 kg.
:warning: ในสตรีตั้งครรภ์ที่มี BMI น้อยกว่ามาตรฐาน ควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12.5 - 18 kg.
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 20 สิงหาคม 2562
ตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย
ภรรยา
- MCV : 87.6 fL
- Hb E screen (DCIP) : Negative
-
ตรวจปัสสาวะ
- Albumin : Negative
- Glucose : Negative
การตรวจโลหิตวิทยา
- Hb :12.8 g/dL
- Hct :36.5 %
- WBC : 11.95 10^3/uL
- VDRL : Non-reactive
- HIV Ag : Negative
- HBsAg : Negative
- ABO gr : B
- Rh : Positive
- Ab screening : Negative
-
การตรวจพิเศษ
Ultrasound
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562
- Presentation : Cephalic presentation
- CRL (mm/wks) : -
- BPD (mm/wks) : 46 mm./19+3 wk
- HC (mm/wks) : 179 mm./20+3 wk
- AC (mm/wks) : 149 mm./19+5 wk
- FL (mm/wks): 3.5 mm./19+6 wks
- Placental Location / grading : Anterior
- Est. fetal weight (gm) : 326 g.
- GA by US (week) : 19+5 wk
- Amniotic fluid index (cm.) / DVP (cm.) : Normal
-
Notify :red_flag:
Preterm
ความหมาย
WHO :check: : ให้คำจำกัดความว่าเป็นการเจ็บครรภ์คลอดขณะที่อายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์ หรือ 259 วันนับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย (LMP)
ประเทศไทย :check: : ให้คำจำกัดความว่าการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดว่าเป็นการเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดขึ้นเมื่ออายุครรภ์ 28 - 37 สัปดาห์
ภาวะที่มดลูกบีบตัวอย่างสม่ำเสมอ (Regular uterine contraction) ทำให้ปากมดลูกเปิด (Cervical change) ก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ :check:
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
มารดา
-
-
-
-
มารดาที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 50 kg. หรือ น้ำหนักเพิ่มน้อยกว่า 5 kg. หรือน้ำหนักเพิ่มน้อยกว่า 0.24 kg. ต่อสัปดาห์
-
,มารดาที่มี น้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด หรือPROM
-
-
การวินิจฉัย
-
Fetal fibronectin
-
Fetal fibronectin คือ glycoproteinที่สร้างจากเซลล์หลายชนิด ซึ่งจะพบได้ที่ cervicovaginal secretions ของสตรีตั้งครรภ์ครบกำหนดที่ถุงน้ำไม่แตก
อาการ
เจ็บครรภ์ถี่ขึ้น (True labor: Regular contraction and cervical change) อาจจะเป็นอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจงเช่น ปวดเอวหรือหลัง ปวดหน่วงลงช่องคลอด หรือมี vaginal discharge
Vaginal Cervical length
Vaginal Cervical length สามารถนำประเมินความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด หรือแยกระหว่างTrue labor / false labor
ถ้าในสตรีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์และมีอาการของเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด การวัด cervical length < 20 mm ถือว่ามีความเสี่ยงสูงที่จะคลอดภายใน 7 วัน แต่หาก cervical length > 30mmถือว่ามีความเสี่ยงต่ำที่จะคลอดภายใน 7 วัน ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้ใช้ Vaginal cervical length ร่วมกับ fetal fibronectin ในการแยก True labor ซึ่งสามารถลดการให้ยาโดยไม่จำเป็นได้
-
-
-
Problem risk :explode:
- สตรีตั้งครรภ์ GA 39 wk 4 day
- มารดาเจ็บครรภ์ มีcontraction 10 - 15 นาที
- ตรวจวัดระดับของยอดมดลูก อยู่ที่ระดับ 2/4 > สะดือ ระดับยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ :warning:
ขนาดของยอดมดลูก 32 ซม. :warning:
- ทารกดิ้นน้อย
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อใกล้คลอด
การพยาบาล
-
-
-
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
ระยะใกล้คลอดสตรีตั้งครรภ์จะมีความวิตกกังวล กลัวเกี่ยวกับการคลอด พยาบาลควรมีการเตรียมสตรีตั้งครรภ์ในระยะใกล้คลอด บางโรงพยาบาลอาจจัดให้สตรีตั้งครรภ์ได้ไปเยี่ยมชมห้องคลอด ซึ่งข้อมูลทั้งหมดจะช่วยให้สตรีตั้งครรภ์ได้มีการเตรียมความพร้อมในการคลอด พยาบาลควรเตรียมความพร้อมให้สตรีตั้งครรภ์ใกล้คลอดเพื่อลดการปวดในระยะคลอด
- น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 48 kg. ส่วนสูง 166 cm.
BMI : 17.42 (น้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน)
- สตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลด ในไตรมาสที่3
- สตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 0.35 kg./wk ในไตรมาสที่ 3
- ทารกดิ้นน้อย
- สตรีตั้งครรภ์ GA 39 wk 4 day
เสี่ยงต่อทารกในครรภ์อาจจะมี
น้ำหนักตัวน้อย
(LOW BIRTH WEIGHT)
การพยาบาล
ขณะตั้งครรภ์
-
-
-
-
นับจำนวนลูกดิ้นใน1วัน โดยอาจจะนับหลังกินอาหาร(เช้า กลางวัน เย็น) ไปแล้ว 1 ชั่วโมง หรืออาจจะระหว่างวัน ถ้านับได้มากกว่า 10 ครั้งขึ้นไปถือว่าปกติ แตถ้านับได้น้อยกว่า 3 ครั้งใน1วัน ถือว่าผิดปกติ
- มารดาบอกว่ามีอาการเจ็บครรภ์
- มารดามี Contraction ทุก 5 - 10 นาที
-