Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจพิเศษทารกในครรภ์ ANC (Biophysical profile (BPP) :<3:…
การตรวจพิเศษทารกในครรภ์ ANC
Down's Syndrome
:<3:
การตรวจคัดกรอง :warning:
First-Trimester Screening :black_flag:
Pregnancy-associated placenta protein A (PAPP-A)
ระดับ PAPP-A ในกระแสเลือดมารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะต่ำกว่ามารดาที่ตั้งครรภ์ปกติ
ผลิตจากถุงไข่แดงของตัวอ่อนและตับ
Nuchal translucency (NT)
วัดความหนาของน้ำที่สะสมใต้ท้ายทอยทารก ทารกที่มี NT หนาผิดปกติจะมีโครโมโซมผิดปกติ
ผลิตจากต่อมน้ำหลังต้นคอ
Human Chorionic Gonadotropin (hCG)
ระดับ hCG ในกระแสเลือดมารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะสูงเป็น 2 เท่าของมารดาที่ตั้งครรภ์ปกติ
ผลิตจากรก
ตรวจคัดกรองระหว่างอายุครรภ์ 11 – 13 สัปดาห์
Second-Trimester Screening :black_flag:
Human Chorionic Gonadotropin (hCG)
ระดับ hCG ในกระแสเลือดมารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะสูงเป็น 2 เท่าของมารดาที่ตั้งครรภ์ปกติ
ผลิตจากรก
Unconjugated estriol (uE3)
มารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะมีค่าต่ำกว่ามารดาที่ตั้งครรภ์ปกติ 25%
ผลิตจากรกและต่อมหมวกไตของตัวอ่อน
Alpha-fetoprotein (AFP)
ระดับ AFP ในกระแสเลือดมารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะมีค่าต่ำกว่ามารดาที่ตั้งครรภ์ปกติ
ผลิตจากุงไข่แดงของตัวอ่อนและตับอ่อน
Quadruple marker test
มารดาที่ตั้งครรภ์ทารกกลุ่มอาการดาวน์จะมีค่าสูงเป็น 2 เท่าของมารดาตั้งครรภ์ปกติ
ผลิตจากรก
ตรวจคัดกรองระหว่างอายุครรภ์ 14 – 16 สัปดาห์
Sequential First and second Trimester Screening :black_flag:
ในกลุ่มที่มีความเสี่ยง ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยการเจาะน้ำคร่ำ (Amniocentesis)
คัดกรองได้ 90 %
ปัจจัยที่อาจมีผลต่อระดับของสารชีวเคมีในกระแสเลือดมารดา:!?:
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple gestation)
ระดับสารชีวเคมีแต่ละชนิดในกระแสเลือดมารดาที่ตั้งครรภ์แฝดจะสูงประมาณ 2 เท่าของมารดาที่ตั้งครรภ์เดี่ยว
เบาหวานในมารดา (Diabetes mellitus)
ระดับของ AFP ในมารดาที่เป็น type 1 DM (IDDM) จะต่ำกว่าปกติ
น้ำหนักตัวมารดา (Body weight)
ระดับสารชีวเคมีในกระแสเลือดมารดาจะต่ำลง หากน้ำหนักตัวมารดามากขึ้น
การตั้งครรภ์ด้วยวิธี In vitro fertilization (IVF)
กรณี มารดาได้รับการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนระหว่างการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ด้วยวิธี IVF เมื่อตรวจวัดระดับสารชีวเคมีในกระแสเลือดพบว่า ระดับ hCG มีแนวโน้มจะสูง ส่วนระดับ uE3 มีแนวโน้มจะต่ำกว่าปกติ
เชื้อชาติ (Race)
ระดับ AFP ในสตรีผิวดำ จะสูงกว่าสตรีผิวขาว และสตรีชาวเอเชีย เช่นเดียวกับระดับ uE3, total β-hCG และ free β-hCG จะสูงในสตรีผิวดำเมื่อเทียบกับสตรีผิวขาว ในขณะที่ระดับ Inhibin A จะต่ำในสตรีผิวดำ
ปัจจัยอื่นๆ
มารดาที่สูบบุหรี่จะมีระดับ hCG ต่ำกว่าปกติ 20-30% ส่วนระดับ uE3 และ AFP ก็อาจมีผลได้เล็กน้อย
ทารกเพศชายจะมีระดับ AFP สูงกว่าทารกเพศหญิง
ปัจจัยอื่นๆ เช่น parity และ SLE พบว่ามีอิทธิพลต่อระดับสารชีวเคมีได้เช่นกัน แต่ไม่จำเป็นต้องปรับระดับใหม่เนื่องจากผลดังกล่าวมีน้อย และยังมีข้อมูลการศึกษาไม่พอเพียงในการนำมาใช้ในทางปฏิบัติ
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ :red_flag:
ประวัติครอบครัวมีโครโมโซมผิดปกติ
Ultrasound พบทารกท่าผิดปกติ
เคยมีประวัติคลอดบุตรที่่มีโครโมโซมผิดปกติ
เคยคลอดทารกที่มีความพิการหลายอย่างและยังไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัย
มารดาอายุ 35 ปีขึ้นไป
การตรวจวินิจฉัย :fire:
Cordocentesis
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 20 – 22 สัปดาห์
ตรวจเลือด
ทางสายสะดือ
ภาวแทรกซ้อนที่อาจเกิด :warning:
การแท้งบุตร
Amniocentesis
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 16 – 18 สัปดาห์
ตรวจน้ำคร่ำ
เจาะทางผนังหน้าท้อง
คำแนะนำหลังตรวจ
งดออกแรงหนัก :no_entry:
งดมีเพศสัมพันธ์ :no_entry:
รับประทานยาแก้ปวด :check:
กรณีเสี่ยง :!:
Thalassemia
โรคที่เกี่ยวข้องกับโครโมโซม
Down's syndrome
Patau's syndrome
Turner syndrome
Cystic Fibrosis
ภาวแทรกซ้อนที่อาจเกิด :warning:
การติดเชื้อ
การแท้งบุตร
มีรอยรั่วที่รก
Chorionic villus sampling : CVS
ตรวจเนื้อรก
ทางปากมดลูก
ทางหน้าท้อง
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 8 – 11 สัปดาห์
ภาวแทรกซ้อนที่อาจเกิด :warning:
การแท้งบุตร
การแปลผล :star:
Positive
มีความเสี่ยงสูง มากกว่า 1 ใน 200
Negative
มีความเสี่ยงต่ำ น้อยกว่า 1 ใน 200
Ultrasound
:<3:
คือ :red_flag:
การตรวจโดยใช้คลื่นความถี่สูง(มากกว่า 20,000 Hz)ผ่านทะลุเข้าสู่อวัยวะภายใน เพื่อตรวจสอบการเจริญเติบโตของทารกในหญิงตั้งครรภ์
ข้อบ่งชี้และวัตถุประสงค์ในการตรวจ :red_flag:
ไตรมาสที่ 2
ตรวจดูความพิการแต่กำเนิดและความผิดปกติโครงสร้างร่างกายทารกในครรภ์
เนื้อปอด
หัวใจ
ทรวงอก
ผนังหน้าท้อง
โครงกระดูกแขน ขา มือ เท้า
อวัยวะภายในช่องท้อง
ไต
ลำไส้
ตับ
กระเพาะปัสสาวะ
อื่น ๆ
ใบหน้า
เนื้อสมอง
กะโหลกศีษะ
อายุครรภ์ที่เหมาะสม 18-22 สัปดาห์
ไตรมาสที่ 3
ตรวจติดตามตำแหน่งทารก
สงสัยภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
ประเมินท่าของทารก
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด หรือน้ำเดิน เป็นต้น
ประเมินน้ำหนักทารกเมื่อใกล้คลอด
ตรวจดูความสมบูรณ์ของทารกในครรภ์ได้
ตรวจติดตามการเจริญเติบโตของทารกใรครรภ์เสี่ยงสูง
ไตรมาสที่ 1
มีอาการผิดปกติ เช่น ปวดท้อง มีเลือดออก สงสัยอาจเกิดการแท้งหรือท้องนอกมดลูก
มีความเสี่ยงตั้งครรภ์แฝด เช่น การใช้เทคโนโลยีในการช่วยการตั้งครรภ์
จำประจำเดือนไม่ได้แน่นอน ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสอ หรือตั้งครรภ์ขณะใช้ยาคุม
เพื่อคัดกรองกลุ่มอาการดาวน์ โดยการวัดความหนาของผนังคอ
ประเภทการตรวจ ultrasound :red_flag:
Color Doppler Image
ตรวจวัดปริมาณและความเร็วของกระแสเลือด
ตรวจสอบความผิดปกติของจำนวนเส้นเลือดและรูปร่างหัวใจ
Umbilical artery : การไหลเวียนของเลือด
Middle cerebral artery : ภาวะ Hypoxia หรือ IUGR ซีด
Ductus venous และ umbilical vein : การทำงานของหัวใจ
หัวใจพิการ
บวมน้ำ (Hydrops fetalis)
IUGR ชนิดรุนแรง
ultrasonotomography
สามารถตรวจผ่านทางผนังหน้าท้อง และช่องคลอดได้
ใช้คลื่นความถี่สูงในการตรวจ ข้อมูลที่ได้รับจะเกิดจากการสะท้อนของคลื่น ultrasonic เป็นภาพ มีทั้ง 2มิติ 3มิติ 4มิติ แบ่งตามความละเอียดและความสมจริงของภาพ
การแปลผล :star:
ขณะตรวจจะมีการบันทึกภาพของมดลูก ทารก รก น้ำคร่ำ หรืออวัยวะอื่น ๆ ปรากฏบนจอภาพ เป็นภาพขาวดำเคลื่อนไหวได้ และจะพิมพ์เป็นภาพถ่ายขนาดเล็กและข้อมูลการตรวจออกมา
การตรวจ และการพยาบาลที่สำคัญ :star:
ส่วนใหญ่เป็นการตรวจผ่านทางหน้าท้อง จะทาเจลใส เป็นตัวกลางบริเวณที่จะวางหัวตรวจลงไป
กรณี อายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน อาจต้องดื่มน้ำปริมาณมากและกลั้นปัสสาวะ เพื่อให้มีน้ำอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ จะทำให้เห็นภาพชัดเจน
การตรวจผ่านทางช่องคลอด ต้องให้หยิงตั้งครรภ์ปัสสาวะให้เรียบร้อยก่อนตรวจ
CST(Contraction Stress Test)
:<3:
วัตถุประสงค์การตรวจ :red_flag:
เพื่อตรวจสอบภาะสุขภาพทารกในครรภ์
เพื่อความปลอดภัยของทารกในครรภ์
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ :red_flag:
เมื่อผลของการตรวจ Biophysical profile ได้คะแนนต่ำ
มารดาตั้งครรภ์เกินกำหนด มีการเร่งการเจ็บครรภ์โดยใช้ยาเร่งคลอด หรือเมื่อแพทย์สงสัยว่าทารกอยู่ในภาวะที่มีความเสี่ยงสูง
ทำ NST ได้ผล Non Reactive
การแปลผล :star:
Negative Contraction stress test
ไม่พบ Late deceleration หรือ Variable deceleration ของ FHR ในช่วง 3 Contraction ใน 10 นาที :green_cross:
Positive Contraction stress test
พบ Late deceleration มากกว่า 50%ของจำนวนครั้งการหดรัดตัวมดลูก ใน 10 นาที :check:
Equivocal
Suspicious
มี Late deceleration หรือ Variable deceleration น้อยกว่า 50%
Hyperstimulation
มี Late deceleration โดยมีมดลูกหดรัดหัวถี่กว่าทุก 2 นาที หรือหดรัดหัวนานกว่า 90 วินาที หรือหดรัดหัวตลอดเวลา (Tetanic contraction)
คือ :red_flag:
การตรวจดูอัตราการเต้นของหัวใจของทารกเมื่อมดลูกหดตัว
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ 32 สัปดาห์
ความเสี่ยงของการทำ Contraction Stress Test
อาจทำให้คลอดก่อนกำหนดดังนั้นจึงไม่ทำในรายที่เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
แพทย์จะไม่ทำการตรวจ Contraction Stress Test ในกรณีต่อไปนี้
:!!:
Previous cesarean section
multiple gestation
Preterm Premature Rupture of Membranes
hydramnios
การตรวจ และการพยาบาลที่สำคัญ :star:
ใช้ Doppler FHR transducer คาดเข้ากับหน้าท้องหญิงตั้งครรภ์ เพื่อบันทึก FHR ตลอดเวลาการทำ
ให้หญิงตั้งครรภ์ กด mark ทุกครั้งเมื่อเด็กดิ้น
ใช้ tocodynamometer ของ external monitor คาดหน้าท้องมารดาเพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกที่เกิดเองหรือเด็กดิ้น
เมื่อครบ 20 ครั้ง อ่านผลได้ และปลด tocodynomometer และ Doppler FHR transducer ออกจากหน้าท้องมารดา
บันทึกความดันโลหิตก่อนทำ เพื่อตรวจสอบภาวะ supine hypotension
มดลูกมีการหดตัวเองหรือกระตุ้นด้วย Oxytocin ให้มดลูกหดรัดตัว 3 ครั้ง ใน 10 วินาที duration 40-60 วินาที แต่ต้องหยุดให้ Oxytocin เมื่อพบว่ามี fetal distress และ มดลูกหดรัดตัวแบบไม่คลาย
จัดหญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่า Semi-fowler
Biophysical profile (BPP)
:<3:
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ :red_flag:
มารดามีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ขณะตั้งครรภ์ โรคเลือด โรคหัวใจ โรคไทรอยด์ โรคSLE
มารดาตั้งครรภ์แฝด
อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์
อายุครรภ์เกินกำหนด
เคยมีประวัติทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ หรือการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
มีปัญหาเรื่องกลุ่มเลือด Rh
การแปลผล :star:
โดยวิธีการตรวจและแปลผล BPP นั้น จะมีคะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน แบ่งเป็น 0 และ 2 คะแนน ในแต่ละพารามิเตอร์
มากกว่า 6 คะแนน :explode:
เฝ้าติดตาม
น้อยกว่า 6 คะแนน :explode:
ต้องมีการตรวจประเมินเพิ่มเติม หรือให้คลอด
8-10 คะแนน :explode:
ปกติ เฝ้าติดตาม
เกณฑ์การให้คะแนน
ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid measurement) :pencil2:
2 คะแนน : วัดน้ำคร่ำจากแอ่งลึกสุดในแนวดิ่งอย่างน้อย 2 ซม.
0 คะแนน : ดน้ำคร่ำจากแอ่งลึกสุดในแนวดิ่งน้อยกว่า 2 ซม
การเคลื่อนไหว (fetal movement และ tone) :pencil2:
การเคลื่อนไหว (fetal movement, FM)
0 คะแนน : มีการเคลื่อนไหว น้อยกว่า 2 ครั้งใน 30 นาที
2 คะแนน : มีการเคลื่อนไหว มากกว่า 2 ครั้งใน 30 นาที
การตรวจ tone(fetal tone, FT)
2 คะแนน : มีการงอแขนหรือเหยียดแขนอย่างน้อย 1 ครั้ง
0 คะแนน : มีการงอแขนหรือเหยียดแขนช้า
การหายใจ (fetal breathing movement, FBM) :pencil2:
2 คะแนน : หายใจอย่างน้อย 1 ครั้งนาน 30 วินาที
0 คะแนน : ไม่มีการหายใจใน 30 นาทีหรือหายใจนานไม่ถึง 30 วินาที
Non stress test (NST) :pencil2:
0 คะแนน : Non Reactive
2 คะแนน : Reactive
วัตถุประสงค์การตรวจ :red_flag:
เพื่อที่จะประเมินสุขภาพของทารก ในไตรมาสที่ 3
คือ :red_flag:
ป็นการตรวจ ultrasound ร่วมกับการตรวจ nonstress test (NST) รวมถึงการประเมินร่วมกับพฤติกรรมหลาย ๆ อย่างและผลบวกลวง
การตรวจ และการพยาบาลที่สำคัญ :star:
ใช้หัวตรวจคลื่นความถี่สูงตรวจแนวแกนยาวตามลำตัวทารก ซึ่งทำให้สามารถเห็นหน้า , แขนท่อนล่าง , มือ , ทรวงอก สามารถสรุป activity ทารกใน 30 นาทีได้
ตรวจวัดแอ่งน้ำคร่ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในแนวดิ่ง หากน้ำคร่ำน้อยให้วัดแอ่งน้ำคร่ำในบริเวณที่ไม่มีสายสะดือรวมอยู่
ตรวจโดยการ Ultrasound และ NST และควรประเมินร่วม ได้แก่ ตรวจวัดส่วนอื่น ๆ (BPD,HC,AC,FL)และภาวะพิการโดยกำเนิด เป็นต้น
Parameter ที่ใช้ในการประเมิน biophysical profile
การหายใจ (fetal breathing movement, FBM) :pencil2:
fetal breathing movement จัดเป็นการเคลื่อนไหวแบบ paradoxical
ถ้ามีการเคลื่อนไหวของทรวงอกและกะบังลมหรือสะอึกนานต่อเนื่อง อย่างน้อย 30 วินาทีตั้งแต่หนึ่งครั้งเป็นต้นไปใน 30 นาที ถือว่าปกติ
ในจังหวะหายใจเข้า จะมีการยุบเข้าของทรวงอกกะบังลมจะเลื่อนต่ำลงไปด้วย แต่ในขณะหายใจออก ทรวงอกจะขยายทางด้านข้าง ส่วนกะบังลมจะเลื่อนขึ้นตามไปด้วย
การเคลื่อนไหว (fetal movement และ tone) :pencil2:
การตรวจ tone(fetal tone, FT)
ถ้ามีการเคลื่อนไหว ในลักษณะกำและคลายมือเต็มที่และกำมือใหม่ หรือ งอแล้วเหยียดของลำตัวหรือ แขนขา โดยต้องเป็นลักษณะของ complete flexion อย่างน้อย 1 ครั้ง แปลผลว่าปกติ
ถ้ามีการเคลื่อนไหว ในลักษณะกำและคลายมือเต็มที่และกำมือใหม่ หรือ งอแล้วเหยียดของลำตัวหรือ แขนขา โดยต้องเป็นลักษณะของ complete flexion อย่างน้อย 1 ครั้ง แปลผลว่าปกติ
การเคลื่อนไหว (fetal movement, FM)
การขยับแขนขาหรือมือ แตะแรงหรือเบา ก็จัดว่าเป็นการเคลื่อนไหวของทารกได้หมด โดยต้องเห็นอย่างน้อย 3 ครั้งใน 30 นาที การเคลื่อนไหวของแขนขาและลำตัว พร้อม ๆ กัน ถือว่าเป็น 1 ครั้ง ไม่นับแยกกัน
Non stress test (NST) :pencil2:
ปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid measurement) :pencil2:
น้ำคร่ำน้อย เพราะบ่งชี้ได้ถึงภาวะเครียดของทารกทำให้สร้างปัสสาวะได้น้อย หรือ อาจเป็นปัจจัยให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน
ข้อสังเกต
ปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) ซึ่งแอ่งที่ลึกที่สุดมีค่ามากกว่า 8 เซนติเมตร
รวจหาความผิดปกติโดยละเอียดของมารดาและทารกในครรภ์ เช่น ความผิดปกติของระบบประสาท ทางเดินอาหาร หรือ โครโมโซม เป็นต้น
ปริมาณน้ำคร่ำน้อยผิดปกติ (oligohydramnios ) หรือมีแอ่งน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดน้อยกว่า 2 เซนติเมตร
สัมพันธ์กับภาวะทารกโตช้าในครรภ์ และมีแนวโน้มที่จะเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ เลือดไปเลี้ยงทารกน้อยลง
ปริมาณน้ำคร่ำในที่นี้ใช้แอ่งที่ลึกที่สุด (deep vertical pocket, DVP) ซึ่งวัดด้วยอัลตราซาวด์ โดยวางหัวตรวจให้อยู่ในแนวตั้ง หาแอ่งที่มีน้ำคร่ำลึกมากที่สุด โดยที่ไม่มีส่วนของทารกหรือสายสะดืออยู่บริเวณนั้น
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ Biophysical profile score :warning:
ด้านมารดา :black_flag:
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การได้รับยา หรือสารเสพติดต่าง ๆ
ด้านทารก :black_flag:
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ภาวะ Acidosis
NST (Non stress test) :<3:
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ :red_flag:
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
สตรีตั้งครรภ์ที่รู้สึกทารกดิ้นน้อยลง
ทารกในครรภ์มีภาวการณ์เจริญเติบโตช้า
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
อายุ 35 ปีขึ้นไป
การแปลผล :star:
Positive (Reactive NST)
ใน 2 ครั้งที่ทารกมีการเคลื่อนไหว อัตราการเต้นของหัวใจจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 15 ครั้งต่อนาทีและสูงขึ้นอย่างน้อย 15 วินาที
ทารกเคลื่อนไหวอย่างน้อย 2 ครั้ง ใน 20 นาที
Baseline FHR ระหว่าง 110-160 ครั้งต่อนาที
Negative (Non Reactive NST)
ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ในขณะที่มีการเคลื่อนไหว หรือทารกไม่มีการเคลื่อนไหว
ในระยะเวลานาน 40 นาที อัตราการเต้นของหัวใจพื้นฐานน้อยกว่าค่าปกติ หรือตรวจไม่พบ
วัตถุประสงค์การตรวจ :red_flag:
เพื่อตรวจดูความสมบูรณ์ทางกายภาพ การทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหัวใจและหลอดเลือดของทารก
คือ :red_flag:
ในกรณี ทารกหลับ สามารถพบว่าผล NST ล่วงลงได้ :!:
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจ แต่ไม่ได้เป็นไปตามลักษณะดังกล่าว ในผลการตรวจเป็นบวก ควรตรวจสอบซ้ำภายใน 24-48 ชั่วโมงหรือทำการตรวจสอบด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การตรวจ CST :!!:
การตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ที่เปลี่ยนแปลงในขณะที่มีการเคลื่อนไหวของทารก
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ 30-32 สัปดาห์
การตรวจ และการพยาบาลที่สำคัญ :star:
จัดหญิงตั้งครรภ์อยู่ในท่า Semi-fowler
บันทึกความดันโลหิตก่อนทำ เพื่อตรวจสอบภาวะ supine hypotension
ใช้ tocodynamometer ของ external monitor คาดหน้าท้องมารดาเพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกที่เกิดเองหรือเด็กดิ้น
ใช้ Doppler FHR transducer คาดเข้ากับหน้าท้องหญิงตั้งครรภ์ เพื่อบันทึก FHR ตลอดเวลาการทำ
ให้หญิงตั้งครรภ์ กด mark ทุกครั้งเมื่อเด็กดิ้น
เมื่อครบ 20 ครั้ง อ่านผลได้ และปลด tocodynomometer และ Doppler FHR transducer ออกจากหน้าท้องมารดา
มดลูกมีการหดตัวเองหรือกระตุ้นด้วย Oxytocin ให้มดลูกหดรัดตัว 3 ครั้ง ใน 10 วินาที duration 40-60 วินาที แต่ต้องหยุดให้ Oxytocin เมื่อพบว่ามี fetal distress และ มดลูกหดรัดตัวแบบไม่คลาย
ปัจจัยที่มีผลต่อ NST :warning:
ด้านมารดา
ได้รับยากดประสาท
ทำให้ variablility และ acceleration ลดลง
ได้รัสารกระตุ้นบางอย่าง ได้แก่ cocaine และ nicotine
เพิ่มระดับ baseline FHR ให้ต่ำลง แต่ลดความแรงของ Acceleration
ได้รับยาลดความดันโลหิต กลุ่ม Beta-blocking agent
ลดระดับ baseline FHR ให้ต่ำลงและลดความถี่ของการเกิด Acceleration
ด้านทารก
อายุครรภ์ก่อนกำหนดมากจะมี Acceleration น้อย
เกิด Acute hypoxemia
เกิด Chonic hypoxia
Perinatology. Risk factors in perinatal period.