Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ (สุขาภิบาลอาหาร…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ
การจัดหาน้ําเพื่อบริโภคและอุปโภค
แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค มี 3 แหล่ง
น้ำผิวดิน
น้ำใต้ดิน
น้ำฝน
คุณภาพของน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
คุณลักษณะทางเคมีคือ
น้้าที่มีค่าpH สูงกว่า 7 จะมีฤทธิ์เป็นด่าง (มีรสฝาด)
น้้าบริสุทธิ์จะมีค่า pH เท่ากับ 7 โดยทั่วไปน้้าดื่มจะมีค่า pH อยู่ในช่วง 6.5 ถึง 8.5
คุณลักษณะทางชีวภาพ
ถูกปนเปื้อนด้วยอุจจาระจึงไม่ปลอดภัยต่อการน้ามาอุปโภคบริโภค
คุณลักษณะทางกายภาพ
ความขุ่น สี รสชาด กลิ่น และอุณหภูมิ
การขุดบ่อมี 2 ประเภท
บ่อน้ำลึกหรือบ่อบาดาล หมายถึง หมายถึง บ่อที่มีความลึกเกินกว่า 3 เมตร
บ่อน้ำตื้น หมายถึง บ่อที่มีความลึกไม่เกิน 100 ฟุต (3 เมตร)
การใช้น้ําในการอุปโภคบริโภคจะต้องจัดทําบ่อน้ําให้ถูกหลักสุขาภิบาล
มีวงขอบบ่อเพื่อป้องกันดินพัง
ทำชานซีเมนต์รอบปากบ่อ รัศมีไม่น้อยกว่า 2 ฟุต (60 เซนติเมตร) นับจากขอบบ่อ
บ่อต้องลึกกว่า 3 เมตร
มีรางระบายน้ำห่างจากบ่อไม่น้อยกว่า 5 ฟุต (1.5 เมตร) เพื่อระบายน้้าที่ขังอยู่บนชานซีเมนต์
สถานที่ตั้งของบ่อควรเป็นที่สูง
มีฝาปิดบ่อ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อให้มีความแข็งแรงในการที่จะใช้ติดตั้งเครื่องสูบน้้า
การผลิตน้ําสะอาด
การปรับปรุงคุณภาพน้ำทางกายภาพ
การกรอง
การตกตะกอน
การใช้ตะแกรง
การกลั่น
การต้ม การต้มน้ำให้เดือดประมาณ 20 นาที จะสามารถท้าลายเชื้อโรคและไข่หนอนพยาธิได้
การเติมอากาศและการลดอากาศ
การปรับปรุงคุณภาพน้ําทางเคมีอาศัยกระบวนการทางเคมีที่ส้าคัญ
การดูดซับ
การฆ่าเชื้อโรคในน้ําโดยใช้สารเคมีการฆ่าเชื้อโรคในน้้าสามารถท้าได้หลายวิธี เช่น การใช้ความร้อนหรือการต้มให้เดือด การใช้รังสีอัลตราไวโอเลต
การสร้างตะกอน
การผลิตน้ำประปา
มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตน้ำให้สะอาดปลอดภัยและเพียงพอสำหรับประชาชน
การท้าให้น้้าสัมผัสกับอากาศ (Aeration)
การตกตะกอน (Sedimentation)
การผสมสารเคมีลงไปในน้ำ(Coagulation)
การจ่ายน้ำ (Distribution
)
การเก็บน้้าในถังส้าหรับเก็บน้ำ (Clear wel)
การกรอง (Filtration)
การท้าลายเชื้อโรค (Disinfection)
การบําบัดน้ําเสียและการควบคุมมลพิษทางน้ํา
ลักษณะของน้ำเสียที่เป็นมลพิษ มี 3 ลักษณะ
ลักษณะทางกายภาพ
ความขุ่น น้ำเสียมีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำธรรมดาเล็กน้อย มีสีเทาปนน้ำตาลอ่อนๆ หากไม่ได้รับการ บ้าบัดจะกลายเป็นสีดำ
ลักษณะทางชีวภาพ
แบคทีเรียกลุ่มฟิคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform)
ปริมาณโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform)
ลักษณะทางเคมี
สารอนินทรีย์พารามิเตอร์ส้าคัญของการตรวจวัดสารอนินทรีย์ในน้ำ
ก๊าซ ก๊าซที่ทำให้เกิดมลพิษ
สารอินทรีย์ส่วนใหญ่มาจากพืชและสัตว์
การบําบัดน้ําเสีย (Waste Water treatment)
กรรมวิธีก้าจัดน้ำเสีย มี 2 วิธี คือ
การกําจัดโดยไม่ใช้กรรมวิธี
การปล่อยทิ้งบนพื้นดิน
การทําให้เจือจางโดยน้ำเสียปล่อยทิ้งในแม่น้ำลำคลอง 1 : 50
การกําจัดโดยใช้กรรมวิธี
การปรับปรุงสภาพขั้นแรก เป็นวิธีแยกเอาของแข็งแขวนลอยออกจากน้้า ได้แก่ การใช้ตะแกรงเหล็กเพื่อแยกของแข็งที่มีขนาดใหญ่
การปรับปรุงสภาพขั้นที่สอง เป็นการปรับปรุงทางชีววิทยาโดยใช้จุลินทรีย์ท้าลายสารอินทรีย์ที่ละลายในน้ำทิ้ง
การกําจัดตะกอน
สามารถใช้เป็นแก๊สหุงต้มได้
ตะกอนที่ย่อยแล้วต้องถูกน้าไปทำให้แห้งบนลานทรายตกตะกอนหรือเครื่องกรองสูญญากาศ ตะกอน
ที่แห้งแล้วสามารถใช้เป็นปุ๋ยหรือทิ้งโดยไม่ก่อให้เกิดกลิ่นร้าคาญ
จำแนกตามกลไกที่ใช้ในการบ้าบัด
การบําบัดทางเคมี (Chemical treatment) เป็นวิธีบ้าบัดน้ำสียโดยใช้กระบวนการ ทางเคมีเพื่อทำปฏิกิริยากับสิ่งเจือปนในน้ำเสีย
การบําบัดทางชีวภาพ (Biological treatment) เป็นวิธีบ้าบัดน้ำเสียโดยใช้จุลินทรีย์ในการกำจัด
การบําบัดทางกายภาพ (Physical treatment) เป็นวิธีการแยกเอาสิ่งเจือปน
น้ำทิ้งหรือน้ำที่ผ่านการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆซึ่งมีผลให้น้้าปนเปื้อนสิ่งสกปรกต่างๆจนไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก
สุขาภิบาลอาหาร
การรวบรวมขยะและน้ําโสโครก
ใช้ถังขยะที่ไม่รั่วซึม และมีฝาปิด - มีท่อหรือรางระบายน้้าที่มีสภาพดีไม่แตกร้าว
มีบ่อดักเศษอาหารและดักไขมันที่ใช้การได้ดีก่อนระบาย เสียทิ้ง
ห้องน้ํา ห้องส้วม
ห้องส้วมแยกเป็นสัดส่วน
มีอ่างล้างมือที่ใช้การได้ดีอยู่ในบริเวณห้องส้วม และมีสบู่ใช้ตลอดเวลา
ห้องน้ำ ห้องส้วมต้องสะอาด ไม่มีกลิ่นเหม็น มีน้ำใช้เพียงพอ
ภาชนะอุปกรณ์
ล้างภาชนะโดยใช้น้้ายาล้างภาชนะ แล้วล้างด้วยน้้าสะอาด 2 ครั้ง
เขียงและมีดต้องมีสภาพดี
ภาชนะใส่น้้าส้มสายชู น้้าปลา และน้ำจิ้ม ต้องท้าด้วยแก้วหรือกระเบื้องเคลือบขาว
ภาชนะอุปกรณ์ เช่น จาน ชาม ช้อม ส้อม ต้องท้าด้วยวัสดุที่ไม่เป็นอันตราย
ผู้สัมผัสอาหาร (ผู้ปรุง ผู้เสิร์ฟ)
ล้างมือให้สะอาดก่อนเตรียม-ปรุงอาหาร
หากมีบาดแผลที่มือต้องปกปิดแผลให้มิดชิด
มีสุขนิสัยที่ดี
ผู้สัมผัสอาหารที่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถติดต่อไปยังผู้บริโภคโดยมีน้และอาหารเป็นสือ ให้หยุดปฏิบัติงานจนกว่าจะรักษาให้หายขาด
ตัวอาหาร น้ํา น้ําแข็ง เครื่องดื่ม
อาหารสดต้องล้างให้สะอาดก่อนนำมาปรุงหรือเก็บ
อาหารที่ปรุงสำเร็จแล้ว เก็บในภาชนะที่สะอาดมีการปกปิด วางสูงจากพื้น อย่างน้อย 60 ซม.
ใช้สารปรุงแต่งอาหารที่ปลอดภัย
อาหารและเครื่องดื่มต้องอยู่ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
น้้าดื่ม เครื่องดื่ม น้้าผลไม้ ต้องสะอาด ใส่ในภาชนะที่สะอาด
น้้าแข็งที่ใช้บริโภคต้องสะอาด เก็บในภาชนะที่สะอาด มีฝาปิด ใช้อุปกรณ์
สถานที่ประกอบและจําหน่ายอาหาร
ต้องสะอาด เป็นระเบียบและจัดเป็นสัดส่วน
โต๊ะเตรียม-ปรุงอาหารและผนังเตาไฟต้องท้าด้วยวัสดุที่ท้าความสะอาดง่าย
สถานที่เตรียม-ปรุงอาหารมีการระบายอากาศ
ไม่เตรียมหรือปรุงอาหารบนพื้นและบริเวณหน้าหรือในห้องน้ำ
การควบคุมสัตว์อาร์โทรปอดและสัตว์กัดแทะ
แมลงและสัตว์นําโรคที่ต้องควบคุมและป้องกัน
แมลงวัน
การควบคุมแมลงวันภายในอาคารและที่พักอาศัย
กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลอย่างเหมาะสม
ประตูหน้าต่างต้องมีตะแกรงหรือมุ่ง
การป้องกันและควบคุมแมลงวันในชุมชน
การบำรุงรักษาความสะอาดในสถานที่ต่างๆ
การมีระบบกำจัดสิ่งปฏิกูลตามหลักสุขาภิบาล
มีการก้าจัดมูลฝอยในชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม เช่น เก็บกวาดถนนไม่ ให้เกิดมูลฝอย
ตกค้างเกลื่อนกลาดตามท้องถนน
จัดให้มีการบ้าบัดและก้าจัดน้้าเสียในชุมชนที่ถูกต้องและเหมาะสม ไม่ปล่อยให้ไหลนอง
ตามพื้นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวัน
ยุง
การควบคุมยุงตามระยะต่างๆของวงจรชีวิตยุง
การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์โดยการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ระยะตัวเต็มวัยหรือยุง
หนู
การควบคุมป้องกันหนูในชุมชน โดยการออกกฎหมายหรือข้อบังคับเพื่อให้ ประชาชนตระหนักถึง
การดูแลบ้านและสถานที่สาธารณะให้สะอาด มีการก้าจัดขยะ มูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ
การควบคุมป้องกันหนูในที่พักอาศัย ท้าได้โดยเก็บอาหารให้มิดชิด เก็บมูลฝอย ที่เปียกในภาชนะที่
ทนต่อการกัดแทะของหนู
แมลงสาบ
ควบคุมแมลงสาบภายในอาคารหรือที่พักอาศัย
ป้องกันไม่ให้แมลงสาบเข้าสู่ตัวอาคาร โดยใช้ตะแกรงหรือติดมุ่งลวดตามประตู
แมลงและสัตว์สามารถนำโรคมาสู่มนุษย์ได้ใน 2 ลักษณะ
นำโรคโดยตรง เกิดขึ้นเมื่อถูกกัดหรือต่อยจะมีการถ่ายเชื้อโรคเข้าสู่มนุษย์ เช่น ยุงนำเชื้อไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก
การนำโรคโดยการเป็นสื่อสัมผัส เนื่องจากแมลงมีขนเมื่อหากินในที่สกปรกจะเป็นสื่อนำเชื้อโรคไป
ปะปนกับอาหารหรือเครื่องดื่มทำให้แพร่โรคได้ เช่น แมลงวัน แมลงสาบ เป็นพาหะน้าโรคอุจจาระร่วง
การกําจัดขยะมูลฝอย
ถังรองรับขยะมูลฝอยควรแยกตามประเภทของขยะ
ถังสีเขียว ใช้ส้าหรับรองรับขยะมูลฝอยที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถน้าไปท้าปุ๋ยหมักได้ เช่น
ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้
ถังสีเหลือง ใช้ส้าหรับรองรับขยะมูลฝอยที่สามารถน้ามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษพลาสติก โลหะ
ถังสีแดง ใช้ส้าหรับรองรับขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรส
เซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชะบรรจุสารอันตรายต่างๆ
ถังสีฟ้า ใช้รองรับขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษ และไม่คุ้มค่าในกา รีไซเคิล เช่น พลาสติก
ห่อลูกอม ซองบะหมี่ส้าเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร
ขยะมูลฝอยมี3 ประเภท ได้แก่
ขยะมูลฝอยแห้ง ได้แก่ เศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้ พลาสติก ยาง ทั้งที่ เผาไหม้และ เผาไหม้ไม่ได้
ขยะมูลฝอยอันตราย ได้แก่ ของเสียที่เป็นพิษมีฤทธิ์กัดกร่อนและระเบิดได้ง่าย ต้องใช้วิธีท้าลายเป็น
พิเศษเช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม
ขยะมูลฝอยเปียก ได้แก่ เศษอาหาร พืชผัก อินทรียวัตถุอื่นๆที่สามารถย่อย
วิธีการกําจัดขยะมูลฝอย
การเผา
การเผากลางแจ้ง เหมาะส้าหรับก้าจัดขยะแห้ง
การเผาในเตาที่ถูกวิธี วิธีนี้มีข้อดี คือ ใช้พื้นที่น้อย เหมาะส้าหรับขยะที่มีการปนเปื้อนเชื้อโรค
การฝัง
การฝังธรรมดา ควรเลือกพื้นที่ที่น้้าท่วมไม่ถึง
การฝังกลบที่ถูกหลักสุขาภิบาล การฝังกลบที่ถูกหลักสุขาภิบาลจะต้องไม่ ก่อให้เกิดมลพิษต่อ
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเหตุร้าคาญอื่นๆ เช่น กลิ่นเหม็น ควัน ฝุ่นละออง
การทิ้งหรือถมที่
การทิ้งทะเล
การทิ้งบนดิน
การนําขยะไปเลี้ยงสัตว์เป็นการน้าขยะเปียกหรือเศษอาหารของมนุษย์ไป เลี้ยงสัตว์โดยน้าไปต้มให้เดือด
นาน 30 นาที เพื่อท้าลายเชื้อโรคหรือไข่พยาธิ
การหมัก ใช้กับขยะที่เน่าเปื่อยหรือย่อยสลายได้ง่ายและสามารถน้าไปใช้เป็นปุ๋ยส้าหรับบ้ารุงดิน การหมัก
เป็นกระบวนการใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุให้เป็นแร่ธาตุคงรูปและมีคุณประโยชน์ต่อพืช
การกําจัดสิ่งปฏิกูล
ส้วมหลุม
ส้วมถังเท
ส้วมซึม
ส้วมถังเคมีประกอบด้วยถังโลหะที่บรรจุสารละลายของโซดาไฟ
มีวัตถุประสงค์เพื่อทําลาย
เชื้อโรคหรือป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ปนมากับสิ่งปฏิกูล และเพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ในสิ่ง
ปฏิกูลไม่ให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ส้วมถังเกรอะ
สุขาภิบาลที่พักอาศัย
ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย
เสียงรบกวน (Noise)
เสียงที่ก่อให้เกิดความร้าคาญหรือเสียงที่ ไม่ต้องการ เสียง
ดังที่เกิดขึ้นภายในบ้านอาจเกิดจากเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่อง ซักผ้า เครื่องปั่นไฟฟ้า
แสงสว่าง (Lighting)
แสงสว่าง (Lighting) หากเป็นแสงสว่างจากธรรมชาติควรมีพื้นที่รับแสงสว่างอย่างเพียงพอ
ไม่มีสิ่งกีดปิดกั้นแสงสว่างจากภายนอก พื้นที่รับแสงสว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่ห้อง
การระบายอากาศ (Ventilation)
สถานที่ที่มีการระบายอากาศที่ดีจะท้าให้ มีความชื้นที่
เหมาะสม อากาศเย็นพอเหมาะตามความต้องการของร่างกาย
ความต้องการพื้นฐานทางด้านจิตใจและสังคม
การท้าให้ผู้อยู่อาศัยเกิดความปลอดภัย ได้แก่ การได้อาศัยในที่พักอาศัยมี การออกแบบที่ดี
และเหมาะสม เช่น มีอาณาเขตชัดเจน
มีพื้นที่ว่างพอที่จะใช้อยู่อาศัย พักผ่อน และออกก้าลังกายโดยไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
ความเป็นส่วนตัวของผู้อยู่อาศัยและความเป็นสัดส่วนเพื่อประโยชน์
การตั้งบ้านเรือนอยู่ในที่ที่ห่างไกลจากบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม
การมีที่อยู่อาศัยที่สามารถท้าความสะอาดได้ง่าย
การป้องกันโรคติดต่อ
โดยการจัดที่พักอาศัยให้มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและเหมาะสม เพื่อป้องกัน
ไม่ให้ผู้อยู่อาศัยได้สัมผัสกับตัวการที่ท้าให้เกิดโรคหรือพาหะน้าโรคติดต่อ ต่างๆ ได้แก่ จัดให้มีน้้าสะอาดอย่าง
เพียงพอต่อความต้องการของผู้อยู่อาศัย มีการก้าจัด ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกสุขลักษณะตามหลัก
สุขาภิบาล มีการระบายน้้าเสียที่เหมาะสม
การป้องกันอุบัติเหตุอุบัติเหตุคืิอ
อุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
ตกบันได ตกหน้าต่าง ตกลงมาจากที่สูง ควรป้องกันโดย
การออกแบบก่อสร้างและเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม เช่น การท้าราวบันได
อุบัติเหตุจากอัคคีภัย
อุบัติเหตุจากอัคคีภัย สามารถป้องกันได้โดยเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในที่พัก อาศัยที่มีความ
เหมาะสม ไม่ติดไฟง่าย เช่น วัสดุที่ใช้ในการสร้างห้องครัว เตาไฟ ผู้อยู่ อาศัยต้องหมั่นตรวจ
สภาพวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้อยู่เสมอ ควรมีเครื่องดับเพลิงไว้ใช้ประจ้าบ้าน
อุบัติเหตุจากไฟฟ้า
ป้องกันโดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้าที่มี ความปลอดภัย
เช่น สายไฟฟ้าที่มีมาตรฐาน มีอุปกรณ์ตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อเกิดไฟฟ้ารั่ว หรือดูด
นายธเนศ สวาสนา 604N46132