Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐…
บทที่ 18
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา 1
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา 2
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3
ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ
มาตรา 4
ในพระราชบัญญัตินี้
“เด็ก” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ํากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
“เยาวชน” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุตั้งแต่สิบแปดปีบริบูรณ์ถึงยี่สิบห้าปีบริบูรณ์
“คณะกรรมการ”หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนสํานักงานคณะกรมการกฤษฎีกาแห่งชาติ
“คณะบริหาร”๒ หมายความว่าคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกากรุงเทพมหานครและคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
“สํานักงาน” หมายความว่า สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
“ผู้อํานวยการ”หมายความว่า ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีการักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอํานาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้กฎกระทรวงและระเบียบนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 6
ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีหน้าที่ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทั้งแก้ไขปัญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อเด็กและเยาวชน โดยมี หลักการ ดังต่อไปนี้
(๑) การพัฒนาเด็กและเยาวชน การบังคับใช้และการปฏิบัติตามบทบัญญัติใด ๆ สํานักงานคณแห่งพระราชบกรรมการกฤษฎีกาัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้สํานักงานคณะองกรรมการกฤษฎีกาับเด็กและเยาวชน ต้องคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดสํของเด็กและเยาวชนเป็นอันดับแรก
(๒)เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิในการได้รับการศึกษากรรมการกฤษฎีกาสํานกงานคณะกรรมการกฤษฎีและได้รับการศึกษาขั้น พื้นฐานที่มีคุณภาพสูงสุดตามที่กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
(๓)เด็กพิการ เด็กที่มีข้อจํากัดทางการเรียนรู้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและเด็กที่มีความสามารถพิเศษสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีสิทธิในการได้รับการศึกษาที่รัฐจัดให้เป็นพิเศษที่เหมาะสมกับลักษณะเด็กประเภทนั้น ๆ
(๔) เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการรับบริการทางการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานสูงสุดเท่าที่มีการให้บริการทางด้านนี้
( ๕) เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการเล่น มีเวลาพักผ่อน และเข้าร่วมกิจกรรมการละเล่นทางนันทนาการที่เหมาะสมตามวัยของเด็กและเยาวชน และการมีส่วนร่วมอย่างเสรีในทางวัฒนธรรมและศิลปะ
การดําเนินการตามวรรคหนึ่งให้กระทําโดยมีแนวทาง ดังต่อไปนี้
(๑) ให้เด็กและเยาวชนมีความผูกพันต่อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยสํ
(๒) ให้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง รู้จักการป้องกันตนเองจากโรคภัยและสิ่งเสพติด
(๓) ให้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ตามสมควรแก่วัย รวมทั้งมีคุณธรรมและจริยธรรม
(๔)ให้มีทักษะและเจตคติที่ดีต่อการทํางานสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีศักดิ์ศรีและภาคภูมิใจในการทํางานที่สุจริต
(๕)ให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและมุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
(๖) ให้รู้จักช่วยเหลือผู้อื่นโดยมีจิตสํานึกในการให้และการเป็นอาสาสมัคร รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัสํานักงฒนาชนคณะกรรมการกฤษฎีกาุมชนและประเทศชาติ
(๗) ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และต่อส่วนรวม ตามสมควรแก่วัย
มาตรา 7
มาตรานคณะกรรม๗ให้เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิได้รับการจดทะเบียนรับรองการเกิดารกฤษฎีกาสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
การพัฒนา การยอมรับ การคุ้มครองและโอกาสในการมีส่วนร่วมตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 8
ให้สํานักงานหรือสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทําแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติและให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณเพื่อกาพัฒนาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา 9
เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ
หมวด 2 คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
มาตรา 10
ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติประกอบด้วย
(๑) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง
(๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธานกรรมการ คนที่สอง
(๔)ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนอยางน้อยปีละครั้ง
(๕)จัดการประเมินผลการดำเนินงาน
(๖)ปฎิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา 11
คณะกรรมการมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ
สํานักงานคพิจารณาอนุมัติะกรรการกฤษฎีกาโดยต้องคํานึงถึงพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมีอยู่ด้วย
(๒) เสนอแนวทางปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนต่อคณะรัฐมนตรี
(๓) กําหนดระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือทางวิชาการ การวิจัยและพัฒนา เงินอุดหนุน สิ่งอํานวยความสะดวก หรือบริการต่าง ๆ อย่างทั่วถึง
(๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ด้านเด็กและเยาวชน ทบทวนกลไกและกระบวนการทํางานและพัฒนาองค์ความรู้สํานทักษะงานคณและทัศนคติในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของประเทศ
(๕) จัดการประเมินผลการดําเนินงานและเสนอรายงานการส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและเยาวชนของประเทศต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาอย่างน้อยปีละครั้ง
(๖) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกําหนดหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา 12
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสามสิบปีบริบูรณ์
(๓)เป็นผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชนที่สํานักงานคณะกรรมีความรู้การกฤษฎีกาความสามารถ ความเชี่ยวชาญสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและประสบการณ์ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนเป็นที่ประจักษ์
(๔)ไม่เป็นบุคคลล้มละลายคนไร้ความสามารถสํนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับ
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) ไม่เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
(๗) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือเลิกจ้างจากหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนเพราะทุจริตต่อหน้าที่
(๘) ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่กระทํากับสํานักงาน
มาตรา 13
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง กรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการใหม่ให้กรรมการนั้นปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการใหม่
มาตรา 14
นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๓) นายกรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อนความสามารถ
(๒)ลาออก
(๔) ขาดคุณสมบัติและมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒
มาตรา 15
ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งแทนอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทนสํ
มาตรา 16
ให้นําความในมาตรา ๑๓ มาตราสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา๑๔(๑)และ(๒)และมาตรา ๑๕
มาใช้บังคับแก่การดํารงตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๖) และ (๗) โดยอนุโลม
มาตรา 17
การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา 18
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งที่ ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
มาตรา 19
ให้สํานักงานมีอํานาจหน้าที่ดําเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน และรับผิดชอบงานธุรการและวิชาการของคณะกรรมการ รวมทั้งให้มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทํานโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติเสนอต่อคณะกรรมการ
(๒) กําหนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติและกําหนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและแผนดังกล่าวตลอดจนการประสานงาน ติดตาม และประเมินผล ทั้งในส่วนของรัฐและเอกชนให้มีการปฏิบัติงานงตามนโยบายเดนคณะกรรมการกฤษฎีกากและเยาวชนแห่งชาติ็สํานักงาน
(๓) พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านเด็กและเยาวชน ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุนและร่วมมือกับเอกชนในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดังกล่าว
๔) ศึกษาวิจัยหรือสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๕)สํารวจ ศึกษา รวบรวมข้อมูลสํานักงานคณะกรรมกวิเคราะห์รกฤษฎีกาติดตาม และประเมินผลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของเด็กและเยาวชนตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และความตกลงระหว่างประเทศที่ ประเทศไทยเป็นภาคีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตลอดจนกฎหมายภายในประเทศ สํานักงานคณเพื่อจัดทําระบบฐานขกรรมการกฤษฎีกา้อมูลและรวบรวม ข้อคิดเห็นของเด็กและเยาวชน รวมทั้งจัดทํารายงานเพื่อเป็นแนวนโยบายในการพัฒนาเด็กและเยาวชนต่อไป
(๖) สนับสนุนและประสานงานกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อร่วมมือกันพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทั้งส่งเสริมการดําเนินกิจการสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ
(๗)ส่งเสริมสื่อมวลชนและสถานศสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาึกษาในการจัดกระบวนการเรีสํานักงายนรคณะกรรมการกฤษฎีกา้เพื่อสร้างูจิตสํานึกในการให้และการอาสาสมัครให้แก่เด็กและเยาวชน
(๘)เป็นศูนย์กลางในการประสานงานคณะรรมการฤษฎีกา เผยแพร่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและประชาสัมพันธ์งานและกิจการ เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๙)ศึกษา วิเคราะห์สํานักงและวางแผนการงบประมาณและค่าใช้จ่ายนคณะรรมการกฤษฎีกาสํานักงานคณะกรรมเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยร่วมกับหน่วยงานอื่น รวมทั้งพิจารณาจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรเอกชนหรือ
องค์กรชุมชนตามมาตรา 42
(๑๐) ดําเนินการจัดงานสมัชชาเด็กและเยาวชนแห่งชาติร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สําหรับเด็กและเยาวชนในด้านต่าง ๆ
(๑๑) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด ตามมติคณะกรรมการ หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา 20
ให้สํานักงานจัดทํารายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนเสนอคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปีละครั้งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยมีสาระสําคัญสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาดังต่อไปนี้
(๑) การใช้งบประมาณเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๒)ผลการดําเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
(๓) สภาพการณ์และแนวโน้มของปัญหาเด็กและเยาวชน
(๔) ผลการดําเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการพัฒนาเด็กและเยาวชน ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคจากการดําเนินงาน
( ๕) แนวทางในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาเด็กและเยาวชน
มาตรา 21
เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการหรือสํานักงานสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาอาจเชิญบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาคําอธิบายคําแนะนําหรือ ความเห็นทางวิชาการได้เมื่อเห็นสมควร และอาจขอความร่วมมือจากบุคคลใดเพื่อให้ได้มาซึ่ง
หมวด ๓
มาตรการส่งเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ส่วนที่๒
การส่งเสริมบทบาทขององค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนในการพัฒนาเด็กและเยาวชน
มาตรา 41
เพื่อเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนที่มีกิจกรรมหรือผลงานเกี่ยวกับการพัฒนา เด็กและเยาวชน และมิได้มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือมุ่งค้าหากําไรจากการประกอบกิจกรรมดังกล่าวมีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนต่อกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 42
องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนที่ได้จดทะเบียนตามมาตรา ๔๑ อาจได้รับเงินอุดหนุน ความช่วยเหลือ หรือการสนับสนุนจากรัฐ ในการดําเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) การจัดให้มีอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๒)การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลหรือข่าวสารสร้างจิตใต้สำนึกของสาธารชน
(๓)การจัดตั้งหรือดำเนินโครงการ
(๔) การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๕)การให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย การแพทย์การบําบัดฟื้นฟูการสงเคราะห์เด็กและเยาวชน
มาตรา 43
ให้องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนที่ได้รับความช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากรัฐตามมาตรา๔๒มีหน้าที่จัดทํารายงานผลการดําเนินงานเสนอต่อสํานักงานตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด
มาตรา 44
องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนใดที่ได้จดทะเบียนแล้วดําเนินกิจการที่อาจก่อความวุ่นวายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่ดําเนินการ พัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสม หรือไม่มีผลงานตามมาตรฐานที่รัฐมนตรีกําหนด ให้รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนหรือระงับการให้เงินอุดหนุนความช่วยเหลือหรือการสนับสนุนที่ ให้แก่องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนนั้นได้
ส่วนที่๑ สภาเด็กและเยาวชน
มาตรา 22
ให้องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล โดยคําแนะนําของหัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนตําบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล แล้วแต่กรณีซึ่งสมาชิกประกอบด้วยเด็กและเยาวชนที่อยู่ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตําบลหรือเทศบาลนั้น
มาตรา 23
การประชุมและการดำเนินงานของคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำเภอให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำเภอกำหนด
มาตรา 24
สภาเด็กและเยาวชนอำเภอมีหน้าที่
1.ส่งเสริม
2.จัดทำกิจกรรม
3.เสนอแนะและให้ความเห็น
มาตรา 25
ให้สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดซึ่งสมาชิกประกอบด้วย ผู้แทนจากคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำเภอ
มาตรา 26
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่ง และผู้บริหารอีกไม่เกินยี่สิบคน ซึ่งคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวช หน้าที่บริหารงานทั่วไปของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และปรึกษาหารือร่วมกันเพ แนวทางในการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ รวมทั้งดำ เนินกา ที่จำ เป็นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 27
การประชุมและการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด
มาตรา 28
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งสมาชิกประกอบด้วย
1.ผู้แทนนักเรียน
ก ผู้แทนนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา
ข ผู้แทนนักเรียน หรือนักศึกษาในระดับอาชีวะ
ผู้แทนเด็ฏและเยาวชนซึ่งไม่ได้อยู่ในสังกัดสถานศึกษา
มาตรา 29
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่งคน และผู้บริหารอีกไม่เกินยี่สิบคน ซึ่งคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
มาตรา 30
การประชุมและการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
มาตรา 31
ให้สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑)เป็นศูนย์กลางประสานงานเพื่อดําเนินกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๒) ให้ความร่วมมือในการดําเนินงานของรัฐและองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน
(๔)ให้ความเห็นในการกําหนดแนวทางนโยบาย แผนงาน และงบประมาณของหน่วยงานของรัฐ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
มาตรา 32
ให้มีสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
ประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดทุกจังหวัด
ประธานสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
ผู้แทนเด็กและเยาวชน
มาตรา 33
ให้สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยมีอำนาจหน้าที่
(๑)เป็นศูนย์กลางประสานงานเพื่อดําเนินกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๒) ให้ความร่วมมือในการดําเนินงานของรัฐและองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๓)ให้ความเห็นในการกําหนดแนวทางนโยบาย แผนงาน และงบประมาณของหน่วยงานของรัฐ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๔) เสนอตวามคิดเห็น
(๕)เสนอคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฎิบัติงานของหน่วยงาน
(๖)ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดำเนินงาน
มาตรา 34
ให้มีคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนปรพะเทศไทย
มาตรา 35
การประชุมและการดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
มาตรา 36
คณะบริหารอย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติ
1.มีอายุไม่เกิน25ปีบริบูรณ์
2.ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
มาตรา 37
คณะบริหารมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสองปี
มาตรา 38
พ้นจากตำเหน่งเมื่อ
1.ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติและมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 36
มาตรา 39
ในกรณีที่ประธานสภาหรือผู้บริหารพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระให้มีการคัดเลือกบุคคลอื่นแทน
มาตรา 40
ให้สำนักงานส่งเสริม สนันสนุน และประสานงาน
บทเฉพาะกาล
มาตรา 45
ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๒๑ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับทําหน้าที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติตามพระราชบัญญัตินี้จนกว่าคณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ทั้งนี้ไม่เกินสามร้อยวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ์จุลานนท์
นายกรฐมนตรี
นางสาวสูรยาณี แดเบาะ รหัสนักศึกษา 6220160433 กลุ่ม 06 เลขที่ 8