Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ :green_cross:…
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ :green_cross:
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดจะมีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ ซึ่งทางเดินอาหารของสัตว์มีกระดูกสันหลังประกอบด้วย
ปาก ® หลอดอาหาร ® กระเพาะอาหาร ® ลำไส้เล็ก ® ทวารหนัก
แมว
ปลา
สุนัข
การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การย่อยอาหารในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
ฟองน้ำ
ไฮดรา
พลานาเรีย
การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
พยาธิไส้เดือน
ปลิงน้ำจืด
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด (Closed Circulation System)
ไส้เดือนดิน
สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
ปลิงน้ำจืด
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิด (Open Circulation System)
แมลง
ระบบประสาท
หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย
ป็นพวกแรกที่มีระบบประสาทเป็นศูนย์ควบคุมอยู่บริเวณหัว และมีเส้นประสาทแยกออกไป ซึ่งจะมีระบบประสาทแบบขั้นบันได (Ladder Type System)
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น ไส้เดือนดิน แมลง หอย
มีปมประสาท (Nerve Ganglion) บริเวณส่วนหัวมากขึ้น และเรียงต่อกันเป็นวงแหวนรอบคอหอยหรือหลอดอาหาร ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางระบบประสาท และมีเส้นประสาททอดยาวตลอดลำตัว
ไฮดรา แมงกะพรุน
เป็นพวกแรกที่มีเซลล์ประสาท โดยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกันคล้ายร่างแห เรียกว่า ร่างแหประสาท (Nerve Net)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
มีสมองและไขสันหลังเป็นศูนย์ควบคุมการทำงานของร่างกาย มีเซลล์ประสาทและเส้นประสาทอยู่ทุกส่วนของร่างกาย
ฟองน้ำ
ไม่มีระบบประสาท
ระบบโครงกระดูกและการเจริญเติบโตของสัตว์
โครงร่างแข็งที่อยู่ภายนอกร่างกาย (Exoskeleton)
มีหน้าที่ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะที่อยู่ภายใน
แมลง
เปลือกกุ้ง ปู หอย เกล็ดและกระดองสัตว์ต่าง ๆ
โครงร่างแข็งที่อยู่ภายในร่างกาย (Endoskeleton)
โครงกระดูกของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมด
ระบบขับถ่ายในสัตว์
หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย พยาธิใบไม้
ใช้เฟลมเซลล์ (Flame Cell) ซึ่งกระจายอยู่ทั้งสองข้างตลอดความยาวของลำตัว เป็นตัวกรองของเสียออกทางท่อซึ่งมีรูเปิดออกข้างลำตัว
หนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน
ใช้เนฟริเดียม (Nephridium) รับของเสียมาตามท่อ และเปิดออกมาทางท่อซึ่งมีรูเปิดออกข้างลำตัว
ไฮดรา แมงกะพรุน
ใช้ปาก โดยของเสียจะแพร่ไปสะสมในช่องลำตัวแล้วขับออกทางปากและของเสียบางชนิดจะแพร่ทางผนังลำตัว
แมลง
ใช้ท่อมัลพิเกียน (Mulphigian Tubule) ซึ่งเป็นท่อเล็ก ๆ จำนวนมากอยู่ระหว่างกระเพาะกับลำไส้ ทำหน้าที่ดูดซึมของเสียจากเลือด และส่งต่อไปทางเดินอาหาร และขับออกนอกลำตัวทางทวารหนักร่วมกับกากอาหาร
ฟองน้ำ
เยื่อหุ้มเซลล์เป็นบริเวณที่มีการแพร่ของเสียออกจากเซลล์
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ใช้ไต 2 ข้างพร้อมด้วยท่อไตและกระเพาะปัสสาวะเป็นอวัยวะขับถ่าย
ระบบหายใจในสัตว์
สัตว์ต่าง ๆ จะแลกเปลี่ยนก๊าซกับสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการแพร่ (Diffusion) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่างกัน
ไฮดรา แมงกะพรุน ฟองน้ำ พลานาเรีย
ไม่มีอวัยวะในการหายใจโดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนก๊าซใช้เยื่อหุ้มเซลล์หรือผิวหนังที่ชุ่มชื้น
ไฮดรา
แมงกระพรุน
ฟองน้ำ
สัตว์น้ำชั้นสูง เช่น ปลา กุ้ง ปู หมึก หอย ดาวทะเล
มีเหงือก (Gill) ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านความซับซ้อน แต่ทำหน้าที่เช่นเดียวกัน (ยกเว้นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในช่วงที่เป็นลูกอ๊อดซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำ จะหายใจด้วยเหงือก ต่อมาเมื่อโตเป็นตัวเต็มวัยอยู่บนบก จึงจะหายใจด้วยปอด)
ปลา
กุ้ง
หอย
สัตว์บกชั้นต่ำ เช่น ไส้เดือนดิน
มีผิวหนังที่เปียกชื้น และมีระบบหมุนเวียนเลือดเร่งอัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ไส้เดือนดิน
สัตว์บกชั้นสูง
แมงมุม
มีแผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มีลักษณะเป็นเส้น ๆ ยื่นออกมานอกผิวร่างกาย ทำให้สูญเสียความชื้นได้ง่าย
แมงมุม
แมลงต่าง ๆ
มีท่อลม (Trachea) เป็นท่อที่ติดต่อกับภายนอกร่างกายทางรูหายใจ และแตกแขนงแทรกไปยังทุกส่วนของร่างกาย
แมลง
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
มีปอด (Lung) มีลักษณะเป็นถุง และมีความสัมพันธ์กับระบบหมุนเวียนเลือด
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction)
เป็นการสืบพันธุ์โดยการผลิตหน่วยสิ่งมีชีวิตจากหน่วยสางมีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่ใช่จากการใช้เซลล์สืบพันธุ์
การงอกใหม่
การขาดออกเป็นท่อน
การแตกหน่อ
พาร์ธีโนเจเนซิส
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction)
เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่
การสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่ำบางพวก
สัตว์ชั้นสูงทุกชนิด
สัตว์บางชนิดสามารถสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
ไฮดรา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของไฮดราจะใช้วิธีการแตกหน่อ
นายพสิษฐ์ อ้วนกันยา 62010510013 1GS sec.1