Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทานบริการสุขภาพ (อุปสงค์ด้านสุขภาพ (Demand for Health care)…
อุปสงค์ อุปทานบริการสุขภาพ
ประเภทของสินค้าและบริการสุขภาพ
สินค้าและบริการปกติ
ผู้รับบริการจะซื้อเพิ่มขึ้นเมื่อรายได้สูง และจะซื้อน้อยลงเมื่อมีรายได้ลดลง
มีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคา
และปริมาณเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
สินค้าและบริการที่ใช้ทดแทนกันได้
Ex. ยาบางชนิด
มีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคา
และปริมาณเป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือความสัมพันธ์ในทิศทางบวก
สินค้าและบริการด้อยคุณภาพ
ผู้รับบริการจะซื้อสินค้า และบริการลดน้อยลง
เมื่อรายได้สูงขึ้น และจะซื้อเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้ลดลง
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณซื้อกับรายได้สินค้า และบริการด้อยคุณภาพ จึงมีความสัมพันธ์ผกผันหรือในทางตรงข้ามกัน
สินค้าและบริการที่ใช้ประกอบกัน
Ex. น้ำตาลกับผงกาแฟ,ครกกับสาก, ลูกปิงปองกับไม้ปิงปอง
เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้ร่วมกัน
มีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณ จะมีทิศทางหรือความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้าม
อุปสงค์ด้านสุขภาพ
(Demand for Health care)
ถ้าราคาสินค้าและบริการสุขภาพมีราคาสูงขึ้น
ผู้บริโภคจะมีความต้องการสินค้าหรือบริการลดลง
Ex. การเปลี่ยนแปลงรสนิยม การศึกษา รายได้ ฯลฯ
ความหมาย
จำนวนสินค้าและบริการที่ผู้ซื้อต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ
หรือ ระดับรายได้ต่างๆ หรือ ระดับราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง
* ราคา เพิ่มขึ้น ความต้องการซื้อ ลดลง
การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ราคายา ราคาบริการ
จำนวนสถานพยาบาลสาธารณสุข
คุณภาพการรักษาพยาบาล
จำนวนผู้ใช้บริการ
ข้อแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์
การประกันสุขภาพ การประกันสังคม
ความเชื่อ ทัศนคติต่อการรักษาพยาบาลและบริการสุขภาพ
จำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ ต่อสถานพยาบาล ต่อจำนวนเตียง
เพศ อายุ เศรษฐกิจ รายได้ครัวเรือน การออม
อื่นๆ เช่น การเข้าถึงความสะดวก รสนิยมผู้รับบริการ การโฆษณา
ภาวะความเจ็บป่วย หรือสุขภาพของแต่ละบุคคล
ความยืดหยุ่นต่อราคาเส้นอุปสงค์
สินค้าและบริการสุขภาพ มีค่าความยืดหยุ่นต่ออุปสงค์ต่ำ
เพราะมักเป็นสินค้าจำเป็น ไม่ว่าราคาสินค้าและบริการจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด
ปริมาณอุปสงค์ต่อสินค้าและบริการก็ไม่ลดลงเท่าใด หรือลดลงเล็กน้อย
อุปทานบริการสุขภาพ
(Supply for Health care)
ความหมาย
ปริมาณเสนอขายงานบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตต้องการเสนอขาย ซึ่งแปรผันโดยตรงตามราคาของบริการนั้น
ปริมาณสินค้า และบริการจะแปรผันตามราคา
* ราคา เพิ่มขึ้น ความต้องการขาย เพิ่มขึ้น
ตัวกำหนดอุปทาน
ปริมาณเสนอขายและบริการสุขภาพขึ้นอยู่กับราคาและบริการนั้น เป้าหมายของธุรกิจ สภาพเทคนิคในการผลิต ราคาอื่น
ราคาของปัจจัยการผลิต และจำนวนผู้ผลิตผู้ขายในตลาด
อุปทานด้านสุขภาพ
ร้านขายยา
ปริมาณแพทย์ พยาบาล
ปริมาณยา
สถานบริการสุขภาพ
คลินิกเอกชน
ความยืดหยุ่นต่อราคาเส้นอุปทาน
ความยืดหยุ่นสูง
Ex. สินค้าผูกขาดตลาด ถ้ารัฐกดราคาให้ต่ำลง ผู้ผลิต ผู้ประกอบการจะไม่นำสินค้าออกมาขายหรือนำเสนอขายในปริมาณที่ลดลงมากกว่าเมื่อเทียบกับราคาขายที่ลดลง เพื่อรักษาสถานภาพการผูกขาดไว้
ความยืดหยุ่นต่ำ
Ex. การมีผู้ผลิตมากราย ถ้ารัฐกดราคาให้ต่ำลง ผู้ผลิตก็ยังผลิตในจำนวนที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมตราบใดที่ยังมีกำไร หรือขายได้มากกว่าราคาต้นทุน
ราคาดุลยภาพ
(Equilibrium Price)
หมายถึง ราคาที่ทำให้จำนวนเสนอซื้อ (อุปสงค์) เท่ากับจำนวนเสนอขาย (อุปทาน)
อุปสงค์ส่วนเกิน
ความต้องการของผู้ซื้อมากกว่าที่ผลิตได้
ราคาดุลยภาพความต้องการจะเกิดขึ้น
โดยระดับราคาและบริการจะค่อยๆสูงขึ้น
เนื่องจากปริมาณบริการน้อย แต่ความต้องการมาก
* ราคาที่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ
อุปทานส่วนเกิน
ปริมาณการผลิตมีมากกว่าความต้องการ
* ราคาที่สูงกว่าราคาดุลยภาพ
ดุลยภาพของการผลิตสินค้าจะเกิดขึ้นโดยระดับราคาจะค่อยๆ ลดลงมาให้เท่ากับความต้องการหรือโดยลดปริมาณการผลิตลง
การปรับตัวของตลาดสุขภาพและสาธารณสุข
พฤติกรรมของตลาดถูกกำหนดโดยกลไกหรือมือที่มองไม่เห็น (Invisible hand) ซึ่งมักทำหน้าที่เป็นกลไกในการปรับราคาของผู้ซื้อและผู้ขาย
ภาวะสินค้าและบริการนั้นที่ขาดหรือล้นตลาด (Market Shortage or Surplus)
อาจเกิดขึ้นได้เมื่อราคาในท้องตลาดอยู่เหนือ หรือต่ำกว่าระดับดุลยภาพ
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพ
เนื่องจากผู้บริโภคไม่มีข้อมูลสารสนเทศในการตัดสินใจในการบริโภคอย่างเพียงพอ และความไม่สมบูรณ์ของโครงการประกันสุขภาพที่มีอยู่
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพ
ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่สำคัญมี 4 วิธี
การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล
การควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
การควบคุมราคาค่าบริการสุขภาพ
กฏหมายป้องกันการผูกขาด
นางสาวเบญจพร วงศ์ศรีชา เลขที่ 31 ชั้นปีที่ 3 ห้อง A