Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การจัดรูปหน่วยงานโครงการ (บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโครงการ…
บทที่ 7 การจัดรูปหน่วยงานโครงการ
ความจำเป็นของการจัดรูปหน่วยงาน
ความก้าวหน้าทางวิทยาการ
ทำให้ภารกิจและหน้าที่ของผู้บริหารดังกล่าวลดลง แต่ความรับผิดชอบก็ยังคงมีอยู่เท่าเดิมนับว่าเป็นวิธีการหนึ่งในการบริหารงาน
เป็นเครื่องมือของผู้บริหาร
ผู้บริหารที่ดีไม่จำเป็นต้องกระทำสิ่งใดด้วยตนเองทั้งหมด อาจจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้ผู้อื่นกระทำมากที่สุด การจัดรูปหน่วยงานโครงการก็เป็นวิธีการหรือเครื่องมืออย่างหนึ่งของผู้บริหาร
ความก้าวหน้าทางวิทยาการ
เป็นการนำเอาเทคนิคการจัดองค์การแบบทีมงานมาประยุกต์ใช้
ลักษณะการจัดโครงสร้างองค์การในการบริหารโครงการ
การจัดรูปหน่วยงานโครงการโดยตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นในหน่วยงานเดิม
การจัดรูปหน่วยงานโครงการ โดยตั้งหน่วยงานพิเศษแยกออกมาจากหน่วยงานเดิม
การจัดรูปหน่วยงานโครงการโดยใช้หน่วยงานเดิม
การจัดรูปหน่วยงานโครงการโดยมอบให้ผู้รับเหมาโครงการไปปฏิบัติ
ประเภทของการจัดรูปหน่วยงานโครงการ
การจัดรูปหน่วยงานโครงการแบบเน้นโครงการ
การจัดรูปหน่วยงานโครงการแบบแมตริกซ์
การจัดรูปหน่วยงานโครงการแบบเน้นหน้าที่
การจัดรูปหน่วยงานโครงการแบบอื่น
ปัจจัยในการเลือกรูปแบบ
ขนาดของโครงการ
การกำหนดระยะเวลาของโครงการ
ลักษณะเฉพาะของโครงการ
บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโครงการ
ผู้ประสานงานโครงการ (Project Coordinator)
ผู้จัดการสมาพันธ์ในการ (Project Confederation)
ผู้เร่งงานโครงการ (Project Expediter)
ผู้จัดการทั่วไปของโครงการ (Project general Manager)
ผู้บริหารโครงการกับกระบวนการบริหาร
การควบคุมโครงการ (Project Control)
การประสานทีมงาน (Welding the Project Team)
การวางแผนโครงการ (Project Planning)
การหยุดงาน (Stop Work Order)
การตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหาร (Management Decision)
หน้าที่ของผู้บริหารโครงการ
หน้าที่ทั่วไป
วางแผนและควบคุมโครงการ เพื่อให้โครงการได้บรรลุวัตถุประสงค์โดยสิ้นเปลืองทรัพยากรน้อย
ทำให้กิจกรรมของโครงการเริ่มมารปฏิบัติได้
คำนึงถึงปัญหาและอุปสรรคอันอาจจะเกิดขึ้นภายหน้า เพื่อหาทางป้องกันไว้แต่เนิ่นๆ
หน้าที่เฉพาะ
กำหนดหลักเกณฑ์ แนวทางและรูปแบบของแผนงานโครงการได้
อนุมัติตารางกำหนดปฏิบัติ และงบประมาณที่เจ้าหน้าที่ได้เตรียมหรือจัดทำมาเสนอ
เลือกหรือเสนอให้เลือกคณะผู้ปฏิบัติงานโครงการหรือทีมงานโครงการ
สั่งการและบริหารกิจกรรมของโครงการ
ลักษณะทั่วไปของผู้บริหารโครงการที่ดี
กลยุทธ์ผู้บริหารโครงการ
อำนาจ (Power)
อำนาจหน้าที่ (Authority)
คุณลักษณะของผู้บริหารโครงการ
มีความรู้ในรายละเอียดของโครงการ
มีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อโครงการ
มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารและการจัดการ
แนวทางในการพัฒนา ทีมโครงการ
การระดมสมอง (Brainstorming)
การสร้างกิจกรรมและทำงานร่วมกัน
การสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน
การสร้างความร่วมมือร่วมใจ
การสร้างจิตสำนึกในความรับผิดชอบร่วมกัน
ดวงฤทัย โปสรักขะกะ 5934280110