Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน (ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ลักษณะของผู้ใหญ๋และวัยทำงาน
มีอายุตั้งแต่20-60ปี
แบ่งออกเป็น2ช่วง
ผู้ใหญ่ตอนต้น
อ่ายุตั้งแต่20-40ปี บุคคลที่มีการเจริญเติบโตทางร่างกายสมบูรณ์มากที่สุด มีร่างกายเเข็งแรง อวัยวะต่างๆ ทำงานอย่างเต็มที่ ควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้น มั่นใจในตนเอง เป็นวัยของการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างลึกซึ้งและยาวนา สนใจเพศตรงข้ามมองหาคู่ชีวิต คบหา การงานอาชีพที่หมั่นคง การเลือกคู่ครอง การปรับตัวในชีวตสมรส มีบทบาทเป็นบิดามารดา
ผู้ใหญ่ตอนกลาง
อายุช่วง40ปีขึ้นไป เป็นช่วงที่ร่างกายเสื่อมถอยลง เรียกว่า วัยทอง สาเหตุจากที่ผู้หญงเข้าสู่วัยทองช้าเร็วมีสาเหตุหลายประการ เช่นสาเหตุทางพันธุกรรม สาเหตุจากส่งแวดล้อมภายนอก สำหรับผู้ชายส่วนใหญ่จะเข้าสู่วัยทองช่วงอายุ50ปี อาการมีดังต่อไปนี้
ด้านชีววิทยา
-เส้นผมจะเร่มร่วง -สายตายาว -ความล้า -
ด้านจิตใจและอารมณ์
-จิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ -โอบอ้อมอารี
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
-รายรับไม่พอกับรายจ่าย -การมีหนี้สิน
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง
ปัญหาพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
เเข็งเเรงไม่ค่อยเจ็บป่วย เช่นทางเพศ มีเพศสัมพันธุโดยไม่ป้องกัน ขาดการพักผ่อน
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
พฤติกรรมของการใช้รถบนถนน การละเลยไม่ปฏิบัตตามกฏจราจร
การเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากการประกอบอาชีพ
ความเหนื่อยล้าจากการทำงานที่ยาวนาน
การเจ็บปวดทางร่างกาย
-โรคหลอดเลือดหัวใจ -โรคความดันโลหิตสูง -โรคเบาหวาน
ปัญหาสุขภาพจิต
-ปัญหาจากการทำงาน -ปัญหาสัมพันธกับเพื่อนร่วมงาน -การหมั่นและการเเต่งงาน
เปลี่ยนแปลงวัยทอง
เกิดความผิดหวัง -ความซึมเศร้า -ความคับข้องใจ
ปัญหาเกี่ยวข้องกับคู่สมรส
-ปัญหาของบุตร -ปัญหาการเลี้ยงดูเด็ก
ปัญหาฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
ความขัดแย้งซึ่งกันและกัน
ปัญหาของบุตร
-ติดสารเสพติด -เล่นการพนัน
ปัญหาปรับตัวของคนโสด
ไม่ให้ความสนใจในเรื่องการแต่งงาน
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล
การเจ็บป่วยมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง
พฤติกรรมสุขภาพ
การดำเนินชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ไม่ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องยาวนาน
วัฒนธรรม
สือทอดจากรุ่นสู่รุ่น มีผลความคิดการตัดสืนใจ เช่นเชื่อว่าการเจ็บป่วยเกดจากอำนาจองภูตผีปีศาจ
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่เป็นหมอกควันอยู่ใกล้โรงงานอุสาหกรรม ย่านชุมชน
เปลี่ยนเเปลงทางสังคมเเละเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนเเปลงทางสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุสาหกรรม ทำให้คนไทยต้องเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิต
ระบบช่วยเหลือสนับสนุน
การจัดการกับสภาวะสุขภาพของตัวเอง
แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ
การเจ็บป่วยเรื่องรังมีอิทธิผลมาจากพฤติกรรมที่ไม่ได้คำนึกถึงภาวะสุขภาพ แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพช่วยให้มนุษย์เข้าใจและใช้ความรู้มาแก้ไขพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลมีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการ
กลวิธีการสร้างเสริมสุขภาพ
1.พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
2.พฤติกรรมการออกกำลังกาย
3.การนอนหลับ การพักผ่อน
4.การจัดการความเครียด
5.การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายอยู่อย่างสม่ำเสมอ
6.พฤติกรรมการรับประทานยาเพื่อควบคุมโรคเรื้องรัง
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ
ประเมินสุขภาพ
ควบคุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ประเมินได้ถูกต้องจะทำให้เเก้ปัญหาอย่างมีประสิทิภาพ
การวางแผนปฏิบัติ
-การให้ความรู้ -การเข้าใจและช่วยเหลือ -ส่งเสริมกิจกรรม
การประเมินผลสัมฤทธ์ของแผนปฏิบัติ
นำผลลัพธ์มาปรับปรุงวธีการให้เหมาะสม
การสนับสนุนให้เกิดนโยบาย
เน้นการปกครองโดยองค์กรท้องถิ่น