Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (บทที่6 การฝึกอบรม (เทคนิคการฝึกอบรม (1…
การจัดการทรัพยากรมนุษย์
-
-
-
-
-
บทที่6 การฝึกอบรม
-
การปฐมนิเทศพนักงาน
ในการปฐมนิเทศพนักงานที่เข้าร่วมงานกับองค์การจะได้รับการปฐมนิเทศก่อนเข้าทำงานโดยการปฐมนิเทศที่มีประสิทธิภาพควรจะต้องมีการปฐมนิเทศใน 2 ระดับ
1 การปฐมนิเทศระดับองค์การเป็นการปฐมนิเทศภาพรวมขององค์การเพื่อให้พนักงานใหม่เข้าใจภาพรวมโครงการในเรื่องต่างๆ
2 การปฐมนิเทศระดับหน่วยงานเป็นการปฐมนิเทศที่มีการอธิบายการปฏิบัติงานภายในแผนกที่พนักงานใหม่จะเข้าร่วมงานเพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การกล่อมเกลาทางสังคม
การกล่อมเกลาทางสังคมคือการที่องค์การสื่อสารข้อมูลต่างๆถึงพนักงานเช่นการเริ่มต้นงานใหม่ของพนักงานการโยกย้ายการเลื่อนตำแหน่งงานหรือการจับพนักงานใหม่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ที่มีกิจกรรมการทำงานที่แตกต่างจากเดิมเป็นการสนับสนุนความสำเร็จในการทำงานที่แตกต่างไปจากเดิม
-
-
-
ขั้นตอนการฝึกอบรม
การประเมินสิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญเนื่องจากในเฟสที่ความต้องการระดับบุคคลและกลุ่มที่จะดำเนินการฝึกอบรมโดยมีวิธีการตรวจสอบความต้องการในการฝึกอบรมดังนี้
-
เทคนิคการฝึกอบรม
1 การเรียนในห้องเรียน
เป็นวิธีการฝึกอบรมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายโดยมีรูปแบบนิยมคือการบรรยายแบบกลุ่มผู้ที่เป็นวิทยากรอาจจะใช้สิทธิ์การอภิปราย
2 การฝึกอบรมในงาน
เป็นการฝึกอบรมโดยให้ผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานและมีทักษะในการฝึกอบรมมาแนะนำผู้ที่เข้ารับการอบรมและสถานที่ทำงานจริง
3 การฝึกอบรมโดยใช้สื่อโสตทัศน์การฝึกอบรมอาจทำได้โดยการบันทึกหลักสูตรการฝึกอบรมในแผ่นซีดีแผ่นดีวีดีและในสมุดงานซึ่งเป็นเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกันโดยมีการจัดเก็บรวบรวมไว้เป็นชุดภายในโปรแกรม Excel
5 แบบจำลองพฤติกรรม
โดยให้ผู้ฝึกอบรมสังเกตพฤติกรรมบุคคลจึงแสดงพฤติกรรมที่ต้องการซึ่งผู้ฝึกอบรมจะต้องแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นออกมา
4 การฝึกอบรมโดยใช้กรณีศึกษาการฝึกอบรมโดยใช้เกณฑ์ทางธุรกิจและกรณีศึกษาเป็นการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการจัดการของพนักงานกรณีศึกษาที่ใช้ในการฝึกอบรมคือสภาพปัญหาหรือรายละเอียดของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ผู้ฝึกอบรมจะต้องศึกษาและมีการอภิปรายสถานการณ์ เหล่านั้น
6โครงการฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์
การฝึกอบรมด้วยวิธีนี้เป็นทางเลือกที่สำคัญขององค์การองค์การต่างๆต้องการใช้คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางในการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพอีกทั้งทำให้ผู้เรียนรู้สึกสะดวกสบายสามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย
7 การจำลองเหตุการณ์
การฝึกอบรมประเภท 1 ที่มีประสิทธิภาพคือการจำลองเหตุการณ์หรือจำลองสถานการณ์ในปฏิบัติงานองค์การมักจะใช้ระบบการจำลองเหตุการณ์ในการฝึกอบรมพนักงานที่ต้องปฏิบัติงานที่มีข้อมูลและวิธีการในการปฏิบัติงานที่มีความซับซ้อน
8 ความจริงเสมือน
เป็นการใช้เทคโนโลยีจำนวนมากในการสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานจากชีวิตจริงซึ่งคล้ายกับการจำลองสถานการณ์ผู้เข้ามาอยู่ในสภาพแวดล้อมจึงนำความสำเร็จสิ่งที่ถูกสร้างโดยคอมพิวเตอร์และสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของร่างกาย
-
บทที่ 7 สรุปบทที่1-6
-
บทที่ 2 การวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นระบบและกระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานที่มีภายในองค์การเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาประกอบการตัดสินใจในการดำเนินกิจการด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การการวิเคราะห์งานจะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นสารสนเทศพื้นฐานของงานเพื่อสร้างมาตรฐานในการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรเข้าสู่วงการ
การวิเคราะห์งานจะเริ่มต้นด้วยการมองภาพรวมของหน่วยงานต่างๆในองค์การเพื่อหาวิธีการทำงานที่เหมาะสมในแต่ละงานจึงสามารถดูได้จากแผนผังองค์การหรือกระบวนการทำงานโดยภาพรวมขององค์การขั้นต่อมาคือการค้นหาเทคนิควิธีการที่เหมาะสมในการเก็บข้อมูลรวมถึงงบประมาณและระยะเวลา
ในการคิดวิเคราะห์งานทุกงานและตัวและตัวอย่างที่จะไปวิเคราะห์โดยเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิเคราะห์งานมีหลากหลายวิธีได้แก่
-
-
-
-
องค์การจะมีการออกแบบงานใหม่หรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นการออกแบบงานมาจากเหตุผล 3 ประการคือ
-
-
-
การออกแบบงานที่สร้างแรงจูงใจในการทำงานให้พนักงานได้นั้นจะ พิจารณาจากตัวแบบคุณลักษณะของงานจึงอธิบา ยได้ใน 5 ลั กษณะ ได้ แ ก่
-
-
-
-
-
-
-
-
บทที่ 6 การฝึกอบรม
การปฐมนิเทศพนักงานเป็นกิจกรรมการอบรมพนักงานในครั้งแรกที่พนักงานเข้ามาทำงานร่วมกับองค์การหรืออาจจะเป็นกรณีที่พนักงานย้ายหน่วยงานโดยเป็นการแนะนำพนักงานให้รู้จักกับโครงการหน่วยงานรวมไปถึงรู้จักผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน
-
เมื่อได้มีการทดสอบความต้องการของพนักงานจะพบช่องว่างที่สัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและความต้องการที่เกิดขึ้นจริงซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ช่วยชี้นำการฝึกอบรมพนักงานโดยมีขั้นตอนในการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานเพื่อกำหนดความต้องการการอบรมดังนี้
-
เมื่อพนักงานได้เข้าร่วมงานกับองค์การจะเป็นการเริ่มต้นกระบวนการที่เรียกว่ากระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อให้พนักงานสามารถปรับตัวในการร่วมงานในตำแหน่งในตำแหน่งงานใหม่ขั้นตอนของการกล่อมเกลาทางสังคมประกอบประกอบไปด้วย 3 กระบวนการ
-
-
การฝึกอบรมพนักงานมีเทคนิควิธีที่หลากหลายสามารถที่จะเลือกเทคนิควิธีตามความเหมาะสมได้ดังนี้การเรียนในห้องเรียนการฝึกอบรมในงานการฝึกอบรมแบบโสตทัศน์การฝึกอบรมโดยใช้กรณีศึกษา
การประเมินผลการฝึกอบรมเป็นการเปรียบเทียบผลการฝึกอบรมกับวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ก่อนที่จะทำการฝึกอบรมการประเมินผลการฝึกอบรมสามารถแบ่งได้ระดับได้ดังนี้
-
-
-