Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ภาษาไทยในการสร้างข้อสอบ (ลักษณะที่ดี (๗. ถามลึก (นำไปใช้, วิเคราะห์,…
การใช้ภาษาไทยในการสร้างข้อสอบ
ลักษณะที่ดี
๖. ยุติธรรม
ไม่เปิดโอกาสให้คนใดคนหนึ่ง
๗. ถามลึก
นำไปใช้
วิเคราะห์
ถามความเข้าใจ
สังเคราะห์
ประเมินค่า
๕.ยาก/ง่ายพอเหมาะ
ยาก-ง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา
๔. ค่าอำนาจจำแนกเหมาะสม
แบบทดสอบที่แสดงความแตกต่าง
"ผลการวัดแยกนักเรียนเก่งกับนักเรียนอ่อนได้"
๓. ความเป็นปรนัย
เข้าใจตรงกัน
ให้คะแนนตรงกัน
แปลความหมายคะแนนตรงกัน
๒. ความเชื่อมั่น
วัดแล้วได้ผลคงเดิมเสมอ
๑. ความเที่ยงตรง
ตรงโครงสร้าง
ตรงพยากรณ์
ตรงเนื้อหา
ตรงสภาพ
๘. จำเพาะเจาะจง
คำถามมีความหมายเดียว
๙. ยั่วยุ-ตัวอย่างที่ดี
ท้าทายให้อยากทำ
เป็นตัวอย่างที่ดี
๑๐. มีประสิทธิภาพ
ใช้ง่าย
ไม่เปลืองเวลา เงิน แรงงาน
นำไปใช้ได้อย่างคุ้มค่า
หลักการ
๑. ถามครอบคลุม
ทุกพฤติกรรมการเรียนรู้
สัดส่วนเหมาะสม
ครบตามหลักสูตร
๒. ถามเฉพาะสิ่งที่สำคัญ
ไม่ไร้สาระ มีคุณค่า
ตามหลักวิชา
๓. ถามให้ลึก
ถามให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์
๔. ถามสิ่งที่เป็นแบบอย่างที่ดี
ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้จากข้อสอบ
๕. ถามเฉพาะเจาะจง
ไม่คลุมเครือ
ตีความหมายได้ทางเดียว
รูปแบบ
อัตนัย
ผู้สอบแสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัว
วัดความรู้ ความจำความเข้าใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า
ข้อเสีย วัดเนื้อหาไม่ครอบคลุม ให้คะแนนยาก
ปรนัย
คำถามเฉพาะเจาะจง
ตรวจได้คะแนนตรงกัน ชัดเจน
ประเภท
แบบถูก-ผิด
แบบเติมคำ
แบบจับคู่
แบบเลือกตอบ