Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสำรวจและการผลิตปิโตรเลียม (การผลิตปิโตรเลียม (คงสภาพก๊าซธรรมชาติเหลว,…
การสำรวจและการผลิตปิโตรเลียม
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
เกิดขึ้นจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ ประกอบกับความร้อนและความดันใต้ผิวโลก โดยใช้เวลานานนับล้าน ๆ ปี มันมีบทบาทอย่างมากในการเป็นแหล่งพลังงานสำคัญของโลก และช่วยขับเคลื่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ให้เปลี่ยนแปลงไปในทางบวก
มีผลกระทบในทางลบด้วย เนื่องจากการเผาไหม้หรือนำเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์มาใช้นั้นก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ตลอดจนก๊าซเรือนกระจกอื่น ๆ ไปสู่ชั้นบรรยากาศ
ถ่านหินและปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์
การเจาะสำรวจ
การสำรวจทางธรณีวิทยา
ปิโตรเลียม
เกิดจากซากพืชและซากสัตว์ในทะเล เช่น สาหร่ายและแบคทีเรีย ที่ตายลงมาเป็นเวลาหลายล้านปี และถูกทับถมเรื่อย ๆ ภายใต้ตะกอน ทราย หรือโคลนตมที่มีระดับความสูงหลายพันฟุต ประกอบกับถูกอัดด้วยความร้อนและความดันใต้โลก
แก๊สธรรมชาติ (Natural Gas) เกิดจากซากพืชและสัตว์ขนาดเล็กที่ตายลงเป็นเวลากว่าล้านปีมาแล้ว โดยแก๊สจะแทรกตัวอยู่ตามชั้นหิน ลักษณะคล้ายกับน้ำที่อยู่ในฟองน้ำเปียก ๆ มันเป็นส่วนผสมของแก๊สหลาย ๆ ชนิด
น้ำมันดิบ (Crude Oil) ประกอบไปด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่ ส่วนที่เหลือจะเป็นออกซิเจน ไนโตรเจน และกำมะถัน
ผลกระทบที่เกิดจากการสำรวจและการผลิตปิโตรเลียมต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและแนวทางแก้ไข
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแว้ดล้อม
แนวทางแก้ไขบรรเทาผลกระทบ
ศึกษารายละเอียดเฉพาะขององค์ปรระกอบคาร์บอนของน้ำมันดิบ
ดูแลและกำกับการใช้สารเคมีขจัดคราบน้ำมันดิบ
ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์คาดคะเนการเคลื่อนตัวของคราบน้ำมันดิบ
ใช้ทุ่นลอยน้ำทำหน้าที่ปิดกั้นคราบน้ำมันดิบไม่ให้แพร่กระจายออกไป
ใช้เครื่องสูบน้ำแบบลอยได้ ทำการสูบคราบน้ำมันบนผิวน้ำ
การผลิตปิโตรเลียม
คงสภาพก๊าซธรรมชาติเหลว
คงสภาพและกักเก็บน้ำมันดิบ
ดูดความชื้นก๊าซ
อัดกลับน้ำ
เพิ่มแรงดันก๊าซ
มาตรวัด
แยกสถานะ
แหล่งปิโตรเลียม
แหล่งปิโตรเลียมที่ค้นพบทั่วโลกในปัจจุบันมีประมาณ 30000 แหล่ง
ประเทศไทยมีแหล่งปิโตรเลียมที่สำรวจและค้นพบแล้ว จำนวน 79 แหล่ง