Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal care : (ANC) :<3: (ข้อมูลส่วนตัว :star: (วัคซีนบาดทะยัก :…
Antenatal care : (ANC)
:<3:
ข้อมูลส่วนตัว :star:
LMP : 27 มิถุนายน 2562 x 7 วัน
EDC : 2 เมษายน 2563
G1P0-0-0-0 GA 39 wk 4 day
ประวัติการแพ้ยา : ปฏิเสธ
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 23 ปี
ประวัติการเจ็บป่วย : ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด : ผ่าตัดเต้านมปีพ.ศ. 2560
ประวัติครอบครัว : ปฏิเสธ
วัคซีนบาดทะยัก :
เข็มที่ 1 : 19 กันยายน 2562
เข็มที่ 2 : 31 ตุลาคม 2562
เข็มที่ 3 : แนะนำให้มาฉีดห่างจากเข็มที่ 2 = 6 - 12 เดือน
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 48 kg. ส่วนสูง 166 cm.
BMI = 17.45 kg./m^2 :warning:
น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (18.5-24.9)
น้ำหนักขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7.5 kg.
BMI < 18.5 ควรมีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 12.5-18 kg.
ไตรมาสที่ 3 น้ำหนักควรเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 0.5 kg. :check:
การตรวจร่างกาย
👩
-ศีรษะ : ปกติ ไม่มีบาดแผล
-ตา : เยื่อบุตาไม่ซีด
-จมูก : ปกติ
-ช่องปากและฟัน : ไม่มีฟันผุ
-คอและต่อมไทรอยด์ : ปกติ คลำไม่พบก้อน
-เต้านม : ปกติ
-ลานนม : ปกติ
-แขนและขา : สมมาตรทั้ง 2 ข้าง ไม่บวม
Vital signs
BP = 100/70 mmHg.
HR = 78 bpm.
การตรวจครรภ์
👶
การตรวจคลำด้วยวิธี Leopold maneuver ดังนี้
-2/4 > Umbilical
-Vertex presentation
-Head Engagement
-ท่า LOT
-FHS = 150 bpm.
-ทารกดิ้นน้อย :warning:
วัดขนาดหน้าท้อง 32 cm.
GA 39 wk 4 day
Size < Date
Low birth weight infant :warning:
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
20 ส.ค. 62
:checkered_flag:
GA 7+5 wk.
Urine analysis
Protein : Neg
Sugar : Neg
CBC
VDRL = Non reactive
HBsAg = Neg
MCV = 87.6 fL
Hct = 36.5 % 👇
Anti HIV = Neg
Hb = 12.8 g/dL
Blood Group = B
Rh Group = +
Hb Typing = Normal
Hb E screening = Neg
13 ก.พ. 63
:checkered_flag:
GA 33 wk.
CBC
Hct = 35.0 % 👇
Hb = 11.6 g/dL 👇
ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ :warning:
Hb < 11 g/dL
Hct < 33 %
MCV = 92.6 fL
VDRL = Non reactive
Anti HIV = Neg
อาการสำคัญ :red_flag:
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรภ์ โดยมี Contraction ทุก 10-15 นาที :warning:
Notifry
:warning:
Preterm
✨
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่และสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
ภาวะทุพโภชนาการ
BMI ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน :check:
ทำงานหนัก ยกของหนัก บาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ภาวะเครียด
อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ครรภ์แรก :check:
มีประวัติคลอดทารกก่อนกำหนด
ส่งผลให้ครรภ์ต่อมามีการคลอดก่อนกำหนดมากขึ้น
มดลูกขยายตัวมากเกินไป
ครรภ์แฝดน้ำ
ครรภ์แฝด
ภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์จริง
ทารกพิการ
ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากขณะตั้งครรภ์ท้องจะโตไปกดเบียดกระเพาะปัสสาวะได้ ส่งผลให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ทำให้มีโอกาสเจ็บท้องคลอดก่อนกำหนด
เลือดออกในระหว่างการตั้งครรภ์
โรคประจำตัว
โรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
หนองใน
หนองในเทียม
bacterial vaginosis
มดลูกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
ปากมดลูกสั้น
ผลกระทบ
ต่อทารก👶
เลิอดออกในสมอง
ติดเชื้อ
การขยายตัวของปอดไม่สมบูรณ์ มีปัญหาการหายใจ
พัฒนาการช้า
พัฒนาการด้านร่างกายไม่ดี
มีปัญหาด้านสติปัญญาและการมองเห็น
น้ำหนักตัวน้อย
สุขภาพไม่แข็งแรง
โลหิตจาง
ต่อมารดา👩
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านจิตใจ
วิตกกังวล
การวินิจฉัย
ตรวจภายใน โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ความกว้าง ระยะห่าง ขนาดตัวและตำแหน่งทารกในครรภ์
เพื่อประเมินความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ตรวจอัลตราซาวนด์ เพื่อวัดความยาวและดูรูปร่างของปากมดลูก
ในการประเมินภาวะครรภ์เสี่ยงและโอกาสคลอดก่อนกำหนด
เจาะตรวจน้ำคร่ำ (Amniocentesis) เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของทารกและภาวะติดเชื้อต่าง ๆ
ความหมาย
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์
ปากมดลูกบางตัวลงเท่ากับร้อยละ 80 หรือมากกว่า
ปากมดลูกเปิดเท่ากับ 1 เซนติเมตรหรือมากกว่า
มดลูกมีการหดรัดตัวสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที
หรือ 8 ครั้งใน 60 นาทีร่วมกับการเปลี่ยนแปลง
ของปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการรักษา
อายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์
พิจารณาให้คลอด, ชะลอการเจาะถุงน้ำคร่ำ
และให้ GBS prophylaxis
เมื่อเข้าสู่ระยะactive phase
อายุครรภ์< 34 สัปดาห์
-พิจารณายับยั้งการคลอด หากไม่มีข้อบ่งห้าม
-Steroid เร่งความสมบูรณ์ของปอดทารก ระหว่างอายุครรภ์
24-34 สัปดาห์ Dexamethasone 6 mg IM q 12 hours x 4 dose
-แนะนำให้ single course steroid พิจารณาให้ repeated dose
ในกรณีหญิงตั้งครรภ์มีการเจ็บครรภ์อีกครั้ง
ก่อนอายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์
ถ้าได้รับยา steroid ครั้งแรก ก่อนอายุครรภ์ 28-30 สัปดาห์
การวินิจฉัยการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ตรวจหาและแก้ไขสาเหตุหรือปัจจัยของการเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนกำหนด ประเมินสุขภาพมารดาและทารกในครรภ์
อายุครรภ์ตั้งแต่ 24-33+6 wk.
ตรวจหาข้อห้ามในการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ไม่มี
•งดน้ำและอาหารทางปาก
•ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
•ให้ยา Steroid ฉีดแบบครั้งเดียว
•พิจารณาให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
•ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
•เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์
•กรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดได้ ให้ยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อGBS
มี
ข้อห้ามในการใช้ยายับยั้งการหดรักตัวของมดลูก
Severe preeclampsia , eclampsia
Chorioamnionitis
Non reassuring fetal status
Placental abruption
DFIU
อายุครรภ์ครบ 34 wk. หรือมากกว่า
•งดน้ำและอาหารทางปาก
•ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
•ไม่ให้ยา Steroid
•ให้ยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ GBS
•ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
•เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์
•ดำเนินการคลอดอย่างนิ่มนวล
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงความเครียด
ลดการทำงานหนักหรือออกกำลังกายเป็นเวลานาน ๆ
ไม่ยกของหนัก
ไม่เดินทางไกลหากไม่จำเป็น
ห้ามกลั้นปัสสาวะ
อาจทำให้เกิดอาการติดเชื้อในกระเพราะปัสสาวะ เกิดอาการระคายเคืองมดลูก และเป็นสาเหตุที่ทำให้มดลูกบีบตัว
ตั้งครรภ์แล้วควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อฝากครรภ์
พบแพทย์ตามนัดทุกครั้งอย่างสม่ำเสมอ
รักษาการติดเชื้อ
ฟันผุ
ติดเชิ้อในช่องคลอด
ส่งเสริมสุขภาพของคุณแม่ให้ดีก่อนการตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์ในอายุที่เหมาะสม
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ดูแลตัวเองให้แข็งแรงเพื่อป้องกันโรค
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ในช่วงอายุครรภ์ 20 wk.เป็นต้นไป
อาการเตือน
มีมูกหรือเลือดออกทางช่องคลอด
เจ็บท้องต่อเนื่องกัน 4 ครั้งใน 20 นาที หรืออาจเกิดเป็นระยะ ๆ เนื่องจากการหดตัวของมดลูก
ปวดหลังช่วงล่างร้าวไปบริเวณเอวและขา เป็นต่อเนื่องหรือ
เป็น ๆ หาย ๆ แม้จะเปลี่ยนท่าทาง
บวมและความดันโลหิตสูงขึ้น อาจครรภ์เป็นพิษ
ลูกดิ้นน้อยกว่าปกติ
:check:
น้ำไหลออกทางช่องคลอด ลักษณะสีใส กลั้นไม่ได้
Problem list 🔔
มารดามีภาวะไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการเจ็บครรภ์
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บครรภ์ โดยมี Contraction ทุก 10-15 นาที :check:
1.ประเมินอาการเจ็บครรภ์
3.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
4.ให้คำแนะนำการบรรเทาปวด
จัดท่านอนให้สุขสบาย
นวดโดยหมุนเป็นวงกลมที่หน้าท้อง
หรือนวดตนเองบริเวณแขนและขา
พูดคุยเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
การหายใจเข้าลึกๆ แล้วค่อยๆ ผ่อนลมหายใจออก
6.รับไว้ในโรงพยาบาล เนื่องจากมี Contraction ทุก 10-15 นาที
5.นอนพักผ่อนให้เพียงพอรอดูอาการ
2.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ (NST)
ทารกดิ้นน้อย
ให้คำแนะนำกระตุ้นให้ทารกดิ้น
1.แนะนำให้ปรับเปลี่ยนท่านอนเป็นตะแคงซ้าย ตะแคงขวา หรือจะกึ่งนั่งกึ่งนอน เพราะทุกครั้งที่ขยับตัวทารกในท้องจะดิ้นตอบกลับ
2.ลูบหน้าท้องเป็นวงกลมหรือแตะหน้าท้องเบาๆ เป็นการช่วยกระตุ้นระบบประสาทและสมองส่วนรับความรู้สึกของทารกในครรภ์
3.ออกกำลังกาย เช่น ว่ายน้ำ โยคะ ช่วยให้ลูกขยับร่างกายดิ้นไปตามการเคลื่อนไหวของแม่
4.ดื่มน้ำเย็นๆ เพื่อกระตุ้นให้ลูกตื่น
5.ให้ลูกฟังเพลงหรือพูดคุยกับลูกในท้องบ่อยๆ เป็นการกระตุ้นให้ลูกในท้องดิ้น
6.ส่องไฟฉายที่หน้าท้อง เปิดเป็นแบบกระพริบๆ เลื่อนไฟฉาย
กระพริบประมาณ 5 นาที เป็นการช่วยกระตุ้นพัฒนาการ
การใช้สายตาให้ลูก
แนะนำให้นับลูกดิ้นทุกวัน วันละ 3 เวลาหลังอาหาร 1 ชม. มื้อเช้า กลางวัน เย็น หากทารกไม่ดิ้น หรือดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อวัน
ให้รีบมาพบแพทย์
ควรบันทึกการดิ้นของลูกทุกครั้ง :explode:
จากการตรวจครรภ์พบว่า ทารกดิ้นน้อย :check:
อธิบายถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อทารกดิ้นน้อย
เสี่ยงขาดออกซิเจน
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ (NST)
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจาก
หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
กรณีศึกษา : น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ : 48 kg.
ส่วนสูง : 166 cm. BMI : 17.45 kg./m^2.
ปัจจุบัน : 55.5 kg. (เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7.5 kg.) :check:
BMI < 18.5 ควรมีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์
12.5-18 kg.
ไตรมาสที่ 3 น้ำหนักควรเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 0.5 kg. :check:
แนะนำการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องวันละ 30 นาที
อย่างน้อย 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ เช่น การเดินช้าๆ โยคะ
แนะนำให้ทานวิตามินเสริมตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ FF 1x1 oral pc. , Folic 1x1 oral pc. ,
Caltab 1x1 oral pc. และ Iodine 1x1 oral pc.
เป็นประจำทุกวัน
แนะนำมารดาเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการในสัดส่วนที่พอดีกับความต้องการของร่างกาย
3.เพิ่มปริมาณอาหารประเภทที่ให้พลังงาน เพื่อให้มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น ได้แก่ อาหารประเภทข้าว-แป้ง เช่น ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปัง เผือก มัน เป็นต้น และอาหารไขมัน เช่น น้ำมัน โดยการปรุงอาหารด้วยวิธีทอดหรือผัด และกะทิอาจทำเป็นกับข้าวหรือขนมหวาน แบบไทยๆ เช่น กล้วยบวชชี เป็นต้น
4.เพิ่มปริมาณและจำนวนครั้งของอาหารระหว่างมื้อได้แก่อาหารว่างเช้า บ่ายและค่ำ เพื่อเพิ่มพลังงานและสารอาหาร
2.เพิ่มอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์และกลุ่มนม หากบริโภคไม่เพียงพอ เพื่อให้ได้สารอาหารโปรตีน ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ รวมทั้งการเจริญเติบโตของเซลล์สมอง
5.การเพิ่มปริมาณอาหาร ต้องค่อย ๆ เพิ่มทีละน้อย จนได้ตามปริมาณที่แนะนำ
1.กินอาหารมื้อหลัก3 มื้อได้แก่อาหารมื้อเช้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็น และมีอาหารว่างซึ่งเป็นอาหารระหว่างมื้อ ได้แก่อาหารว่างเช้าและบ่าย
อาหารที่ต้องรับประทานในแต่ละมื้อ :warning:
เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ได้รับจากเนื้อ หมู ปลา กุ้ง หอย ไก่ หรือ เป็ด วันละประมาณ 120-180 กรัม หรือประมาณ ½ -3/4 ถ้วยตวงหรือมื้อละ 3 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 มื้อ
นม ควรดื่มนมไขมันต่ำวันละ 1-2แก้ว
ไข่ ควรกินไข่วันละ 1 ฟองเป็นประจำ
ผลไม้ ควรกินทุกวัน วันละ 2-4 ครั้ง
ผักชนิดต่างๆ ควรกินผักใบเขียวทุกวันในปริมาณไม่จำกัด
ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ เช่นถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วแดง เพื่อเพิ่มโปตีน
ไขมันหรือน้ำมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ควรบริโภคระดับปานกลาง
น้ำ ควรดื่มวันละ 2,000 ซีซี
6.งดกินขนม-เครื่องดื่มที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่ำ เช่น ขนมขบเคี้ยว ขนม-เครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด เป็นต้น
โภชนาการที่หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับ เพื่อช่วยในการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางระบบประสาทที่ดี ป้องกันทารกผิดปกติแต่กำเนิด
เหล็ก
เพื่อสร้างเม็ดเลือดแดง อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง และดูดซึมได้ดีได้แก่ ตับ เลือด เนื้อสัตว์สีแดงเช่น เนื้อหมู เนื้อวัว เป็นต้น และควรกินร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ฝรั่ง ส้ม มะขามป้อม จะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดี
ไอโอดีน
การขาดไอโอดีนอย่างรุนแรง ทำให้เกิดภาวะพร่องThyroid hormone ทารกเกิดความผิดปกติของระดับสติปัญญา การเจริญเติบโตของเซลล์สมองไม่สมบูรณ์ และการพัฒนาระบบประสาทและกล้ามเนื้อบกพร่อง อาหารที่มีสารไอโอดีนตามธรรมชาติได้แก่ พืชและสัตว์ทะเล ปลาทะเล 100 กรัม มีสารไอโอดีนประมาณ 25 – 70 ไมโครกรัม สาหร่ายทะเลแห้ง 100 กรัม มีสารไอโอดีนประมาณ 200 – 400 ไมโครกรัม
แคลเซียม
ช่วยการพัฒนาระบบประสาท กล้ามเนื้อ หัวใจ หลอดเลือด อาหารที่มีแคลเซียมสูงได้แก่ นม ปลาเล็กปลาน้อย ปลาซาร์ดีนกระป๋อง กุ้งฝอย กุ้งแห้ง คะน้า ใบยอ ผักกวางตุ้ง เป็นต้น
โฟเลต
หากร่างกายได้รับโฟเลตไม่เพียงพอ จะทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ผักและผลไม้ที่เป็นแหล่งอาหารที่ดีของโฟเลต ได้แก่ ดอกกะหล่ำ ดอกและใบกุ้ยช่าย มะเขือเทศผักตระกูลกะหล่ำ แตงกวา หน่อไม้ฝรั่งแครอท ถั่วฝักยาวผักใบเขียวองุ่น ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น
โปรตีน
สร้างเซลล์และอวัยวะทั้งของทารกและของมารดา เช่น การขยายตัวของผนังมดลูก การสร้างรกและสายสะดือ จึงควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นจาก ก่อนตั้งครรภ์โปรตีนได้จาก เนื้อสัตว์นม ไข่ถั่วต่างๆ เต้าหู้น้ำเต้าหู้
วิตามินบี1 (ไธอะมีน) , วิตามินบี2 (ไรโบฟลาวิน) , วิตามินบี6(ไพริดอกซีน) , วิตามินบี12 และวิตามินซี
พลังงาน
กลุ่มข้าวแป้ง เช่น ข้าว เผือก มัน ธัญพืช ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ วุ้นเส้น ซึ่งให้คาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก และกลุ่มไขมันจากพืชและสัตว์เช่น น้ำมันพืช กะทิ เนย เป็นต้น
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ทำกราฟโภชนาการ Vallop curve ในสมุดฝากครรภ์ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและติดตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก
ของหญิงตั้งครรภ์
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
วัดขนาดหน้าท้อง 32 cm.
GA 39 wk 4 day
Size < Date
Low birth weight infant
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2500 กรัม
ส่งเสริมความรู้เพื่อเตรียมตัวคลอด
อาการเจ็บครรภ์เตือน
ไม่มีมูกเลือดปน
ไม่มีการเปิดของปากมดลูก
ลักษณะการเจ็บครรภ์
มดลูกหดรัดตัวน้อยมาก มีระยะห่างมาก ไม่สม่ำเสมอ
ปวดเฉพาะบริเวณหน้าท้อง อาการปวดไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
อาการเจ็บครรภ์หายหลังจากเปลี่ยนท่าหรือ
หลังทานยาแก้ปวด
ยังไม่ต้องมาโรงพยาบาล :explode:
อาการเจ็บครรภ์จริง
ลักษณะการเจ็บครรภ์
มดลูกหดรัดตัวทุก 5-10 นาที เป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เกิดบริเวณหลังส่วนล่างหรือบั้นเอว ร้าวมาถึงหน้าท้องส่วนบนบริเวณยอดมดลูก
อาการเจ็บครรภ์ไม่หายหลังจากทานยาแก้ปวด
ให้คำแนะนำมารดาหากมีอาการผิดปกติให้รีบมาโรงพยาบาล
มีอาการเจ็บครรภ์ ทุกๆ10นาที และเจ็บถี่ขึ้น
ลูกดิ้นน้อยลงหรือลูกไม่ดิ้น
มีมูกเลือดหรือเลือดสด ออกมาทางช่องคลอด
มีน้ำเดิน เป็นสีใส ไหลออกมาจากช่องคลอด ไม่สามารถกลั้นได้
อาการผิดปกติอื่นๆเช่น มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ ปสสาวะออกน้อย
ตกขาวมากผิดปกติ
เตรียมของใช้ที่จำเป็น
สมุดบันทึกการฝากครรภ์
เอกสารสำคัญ
แปรงสีฟันและยาสีฟัน
เตรียมของใช้ทารกแรกเกิด
ผ้าห่อตัว
ชุดเด็ก
ผ้าอ้อม
ผ้าเช็ดตัว
สบู่ ยาสระผม
มารดา G1P0-0-0-0 :check:
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซีดขณะตั้งครรภ์
GA 33 wk. :check:
Hb = 11.6 g/dL 👇
Hct = 35.0 % 👇
GA 7+5 wk.
Hct = 36.5 % 👇
อธิบายถึงสาเหตุของภาวะโลหิตจาง
ขาดธาตุเหล็ก
ขาดวิตามินบี 12
ขาดโฟเลต
ให้ความรู้ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักตัวแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์
ภาวะโลหิตจางในเด็ก
พัฒนาการของเด็กล่าช้า
เกิดความผิดปกติของระบบประสาทและสมอง
แนะนำการรับประทานอาหาร
1.แนะนำอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น
อาหารประเภทเนื้อสัตว์ ปลา ตับ ม้าม ไข่ ถั่ว ขนมปัง
ผักที่มีธาตุเหล็กมาก เช่น ยอดแค ขึ้นฉ่าย ผักขม และใบแมงลัก
2.หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารไปขัดขวางการดูดซึมเหล็กได้แก่ ไข่แดง นม และผักรสฝาดต่าง ๆ เช่น กระถิน ใบเมี่ยง ชา กาแฟ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ข้าวโพด งา ซึ่งสารเหล่านี้สามารถจับกับเหล็กได้ดี
และไม่สลายได้ง่าย ธาตุเหล็กจึงดูดซึมได้น้อยลงดังนั้น
จึงไม่ควรดื่มนม ชา กาแฟ พร้อมอาหารหรือยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
3.แนะนำอาหารที่ส่งเสริมการดูดซึมธาตุเหล็กได้แก่
โปรตีนจากเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อปลา
อาหารที่มีไขมันสูงทั้งชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว
และวิตามินซีหรืออาหารที่มีวิตามินซีสูง
จะทำให้ดูดซึมเหล็กได้มากขึ้น
แนะนำให้ทานวิตามินเสริมตามแผนการรักษาของแพทย์
ได้แก่ Besix 1x1 oral pc. และ Folic 1x1 oral pc.
แนะนำให้มาพบแพทย์ตามนัด
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ซีด เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
1.Size < Date
2.มีอาการเจ็บครรภ์ โดยมี Contraction ทุก 10-15 นาที
3.ทารกดิ้นน้อย
4.ประเมิน NST
เสี่ยง dead fetus in utero
นศพต.สุนารี เขียวสลับ ชั้นปีที่3 เลขที่ 59