Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
TFRS 9 (ประเด็นสำคัญ (ส่วนสำคัญ (แนวคิด (กันสำรองจากความเสียหายที่คาดว่าจะ…
TFRS 9
ประเด็นสำคัญ
เริ่มบังคับใช้
1 มค 2563
ชื่อเต็ม
มาตรฐานการการรายงานทางการเงินกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards: TFRS 9)
ส่วนสำคัญ
กันเงินสำรองเพื่อรองรับผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากสินทรัพย์และภาระผูกพัน
แนวคิด
เดิม กันเงินสำรองจากความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้ว (Incurred Loss)
กันสำรองจากความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต (Expected Loss: EL)
เพื่อให้เงินสำรองสะท้อนความเสี่ยงตลอดอายุของลูกหนี้
โดยพิจารณาข้อมูลจาก อดีต ปัจจุบัน และอนาคต (forward-looking information)
3 stages
1-yr EL
1 ความเสี่ยงไม่เปลี่ยนแปลงจากวันแรกของการให้สินเชื่อ
life-time EL
2 ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
3 หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ NCL
รับรู้เงินสำรองเร็วขึ้นตามสถานะของลูกหนี้ที่เปลี่ยนแปลงไป
งบการเงินสะท้อนฐานะที่แท้จริงอย่างทันการณ์
จัดการแสดงรายการแบบใหม่ ตามแนวทางการจัดประเภท และการวัดมูลค่าใหม่
งบแสดงฐานะการเงิน
เพิ่ม สินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรมมผ่านกำไรขาดทุน (FVTPL)
งบกำไรขาดทุน
กำไรขาดทุนจากการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินประเภทต่างๆผ่าน
กำไรขาดทุน (FVTPL)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI)
ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ผลกระทบ
ผู้ใช้งบการเงิน
ทราบรูปแบบการประกอบธุรกิจ และวัตถุประสงค์ในการถือครองสินทรัพย์
วัตถุประสงค์การถือครอง
มุ่งหวังกำไรระยะสั้น
รับรู้กำไรขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเข้างบกำไรขาดทุน (FVTPL)
มุ่งหวังกระแสเงินสดและขายในอนาคต
รับรู้กำไรขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเข้ากำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI)
มุ่งหวังกระแสเงินสดตามสัญญา
วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจำหน่าย + มีการกันสำรอง
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินบางรายการมีการเปลี่ยนแปลง
งบการเงิน
สอดคล้องตามสากล
ระบบสถาบันการเงินโปร่งใส นาสเชื่อถือ
เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างยั่งยืน
สถาบันการเงินไทย
ระดับชั้นลูกหนี้
ปรับชั้นลูกหนี้ที่ปรับปรุงโครงสร้างให้ดีขึ้นได้
ลูกหนี้ที่ยังไม่เป็น NPL
ปรับจาก 2 -- 1 หากชำระติดต่อกัน 3 งวด
ลูกนี้ที่เป็น NPL
3 -- 2 ได้ หากชำระติดต่อกัน 3 งวด
2 --1 หากพิจารณาแล้วว่าความเสี่ยงดีขึ้น/ไม่มียอดหนี้คงค้าง ณ สิ้นงวดที่ 9 นับจากวันที่ปรับเป็น 2
ช่วยให้ลูกหนี้มีสถานะและผลประกอบการดีขึ้น
ภาระการกันเงินสำรอง และผลประกอบการดีขึ้น
ณ วันเริ่มบังคับใช้
มีปริมาณเงินสำรองเพียงพอ รองรับ TFRS9
สภาวะตลาด แข่งขันสูง
ต้องรักษาฐานลูกค้า
ไม่มีการปรับดอกเบี้ยมากนัก
ไม่กระทบการปล่อยสินเชื่อ
ฐานะการเงินแข็งแกร่งขึ้น
มีเงินสำรองเพียงพอ รองรับความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้น
deliotte
การจัดประเภทและวัดมูลค่า Classification & Measurement
2 test
3 classification categories
financial assets
contractual cash flows characteristics
Amortized cost
FVTOCI
FVTPL
business model
การด้อยค่า Impairment
ECL
3 stages
อนุพันธ์และการบัญชีป้องกันความเสี่ยง Hedge Accounting
ประเด็นสำคัญและผลกระทบของ TFRS 9
intro
หกด
1
2
3
conclude
who what where when why how