Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ Pregnancy induced hypertension (PIH)
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์
Pregnancy induced hypertension (PIH)
คือ ภาวะที่มีความดันโลหิต
systolic ≥140 mmHg.
diastolic ≥90 mmHg.
PIH เริ่มเป็นความดันโลหิตสสูงในระยะตั้งครรภ์ หลัง GA 20 wk. + กลับมาเป็นปกติ ภายใน 12 wk. หลังคลอด
Gestational HT
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ / trace / protein urea < 300 mg.
สาเหตุ
ความผิดปกติฮอร์โมน
จากพันธุกรรม
ไม่สมดุลระหว่างโปรตีนบางตัวที่สร้างระหว่างตั้งงครรภ์
ความผิดปกติระบบภูมิคุ้มกัน
Preeclampsia ความดันโลหิตสูงร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
mild preeclampsia
BPสูง
protein urea ≥ 300 mg.
dipstick +1
การพยาบาล
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น serum creatinin, Hct. Plt.
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ preeclampsia
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะ ความดันโลหิต
ส่งเลือดและปัสสาวะ 24 ชม.
severe preeclampsia
มีอาการตาพร่ามัว ปวดศรีษะ จุกแน่นลิ้นปี่ ปัสสาวะออกน้อย (< 25 ml/hr.)
HELLP syndrome
เกล็ดเลือดแดงต่ำ < 100,000 mm^3
AST > 72 IU/L
LDH > 600 IU/L
SGOT > 36 u/L
Bilirubin > 20 micromol/L
enzymeตับสูง
เม็ดเลือดแดงแตก
serum creatinine > 1.29 /dL
pulmonary edema
dipstick +2
protein urea > 2 g.
BPสูง ≥ 160/110 mmHg.
การพยาบาล
ยากันชัก MgSO4
ระงับการชัก
การให้ยา
Loading dose
Maintenance dose
ช่วยให้เส้นเลือดในสมองขยายตัว
ขณะฉีดควรมียา 10% calcium glutinate ไว้ข้างเตียง
ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว
ป้องกันภาวะชัก
MgSO4
ไม่ควรเกิน 4-7 mEq/L
MgSO4 > 12 mEq/L ทำให้หยุดหายใจ
MgSO4 > 15 mEq/L ทำให้หัวใจหยุดเต้น
จัดให้นอนพักในที่สงบ นอนตะแคงซ้าย
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
eclampsia
มีอาการชัก / เกร็ง
การพยาบาล
ให้ O2
จัดท่านอนตะแคงซ้าย เพื่อให้ออกซิเจนไปเลี้ยงทารก
ดูดเสมหะ clear airway
เตรียม 10 % MgSO4 ป้องกันชัก
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ใช้อุปกรณืกดลื้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยกดลิ้น
แก้ไขภาวะชัก
ให้ NPO
ยุติการตั้งครรภ์ หลังคุมอาการชักได้
ให้ O2
ให้ยา MgSO4
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
Chronic hypertension
protein urea ≥ 300 mg.
dipstick +1
ความดันโลหิตสูงก่อนการตั้งครรภ์ < 20 wk. + ดำเนินต่อไป > 12 wk.
ผลกระทบ
ต่อการตั้งครรภ์
ระบบหัวใจและหลอดเลือด - เลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
การแข็งตัวของเลือด เกิดภาวะ DIC
สมอง - ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว ชัก
ตับ - เกล็ดเลือดต่ำ < 100,000 /cm^3 เอ็นไซม์ตับเพิ่มขึ้น
รายที่มีภาวะ
HELLP syndrome
- เม็ดเลือดแดงแตก เอนไซม์ตับสูง เกล็ดเลือดต่ำ เกิดในภาวะ
severe preeclampsia
ไต - เลือดไปเลี้ยงน้อยลง การกรองของไตลดลง โปรตีนรั่วในปัสสาวะ
ต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ขาด O2 ในครรภ์
IUGR
ต่อมารดา
น้ำท่วมปอด / น้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
เลือดออกในสมอง
เกิดอาการชัก
เกล็ดเลือดต่ำ
ปัจจัยเสี่ยง
ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 18 ปี หรือ มากกว่า 35 ปี
ระยะห่างจากตั้งครรภ์ก่อนมากกว่า 10 ปี
โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตเรื้อรัง โรคลูปัส / โรค SLE
มีประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน
ครรภ์แฝด