Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ (BPP : Fetal Biophysical Profile :pencil2:…
การประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
NST : Non stress test :pencil2:
คือ
เป็นการตรวจวัดอัตราการเต้นหัวใจของทารกในครรภ์ที่เปลี่ยนแปลงในขณะที่มีการเคลื่อนไหวของทารก
ใช้ประเมิน
การทำงานของระบบประสาทส่วนกลางของทารก
ระบบหัวใจและหลอดเลือดของทารก
NST สามารถพบว่าผลล่วงลงได้
ทารกหลับ (ไม่มีการเคลื่อนไหว)
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 32 wk. :!:
แม่เป็นผู้บันทึกการเคลื่อนไหวของทารก
ข้อบ่งชี้ที่ต้องตรวจ NST :check:
IUGR
ภาวะในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกดิ้นน้อยลง :!:
Discordant twins
เป็นภาวะที่มีความแตกต่างกันของขนาดตัวและน้ำหนักของทารกแฝดแต่ละคนอย่างชัดเจน
Post term :!:
Early Gravidarum
มารดามีอายุ > 35 ปี
วิธีตรวจ NST :question:
จัดท่า semi-Fowler หรือท่านอนตะแคงซ้าย
จะดีกว่าท่านอนหงาย
ทำให้เกิด Supine hypotension
มีผลต่อการแปลผล NST :
2.วัดความดันโลหิตสูง
3.ติดเครื่อง electronic fetal monitoring
ติดหัวตรวจ tocodynamometer เพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ติดที่ตำแหน่งยอดมดลูก
หัวตรวจ FHR ไว้ที่ตำแหน่งของทารกที่ได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจชัดที่สุด
4.บันทึกนาน 20 นาที
ถ้าแปลผลไม่ได้ให้บันทึกต่ออีก 20 นาที
การแปลผล :tada:
Reactive :red_flag:
อัตราการเต้นของหัวใจทารกเพิ่มขึ้นมากกว่า 15 ครั้ง/นาทีและคงอยู่นานอย่างน้อย 15 วินาที
เกิดขึ้นอย่างน้อย 2 ครั้งภายในช่วงเวลา 20 นาทีติดต่อกัน
โดย baseline FHR 120-160 bpm
ให้ตรวจสุขภาพทารกตามความเสี่ยงเดิม :!!:
Non - Reactive :red_flag:
ผลที่ได้ไม่เป็นไปตาม Reactive
ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ขณะที่มีการเคลื่อนไหวหรือไม่มีการเคลื่อนไหวในระยะเวลานาน 40 นาที
ให้ตรวจยืนยันด้วยวิธีอื่นเพิ่มเติมร่วมกับการตรวจ ultrasound เพื่อประเมินความผิดปกติของทารกในครรภ์ ปริมาณน้ำคร่ำ ร่วมด้วย :!!:
ปัจจัยที่มีผลต่อ NST :warning:
ปัจจัยทางมารดา :warning:
ได้รับยาลดความดัน
Beta-blocking agent
ลดระดับ baseline FHR ให้ต่ำลงและลดความถี่ของการเกิด Acceleration
ได้รับยากดประสาท
ทำให้ variability และ acceleration ลดลง
ได้รับสารกระตุ้นบางอย่าง
cocaine nicotine
เพิ่ม baseline FHR แต่ละความแรงของ acceleration
ระยะเวลาในการตรวจนานขึ้น
ปัจจัยทางด้านทารกในครรภ์ :warning:
อายุครรภ์ก่อนกำหนดมากจะมี acceleration น้อย
เกิด acute hypoxemia
ทารกเคลื่อนไหวลดลง
ไม่ค่อยมี acceleration ของ FHR
เกิด chonic hypoxia
ต้องใช้เวลาเป็นวันหรือสัปดาห์ในการตรวจ ซึ่งขึ้นกับความรุนแรง
CST : Contraction stress test :pencil2:
คือ
การดูอัตราการเต้นของหัวใจของทารกเมื่อมดลูกหดรัดตัว
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 32 wk. :!:
ข้อบ่งชี้ที่ต้องตรวจ CST :check:
ทำ NST ได้ผล Non Reactive
มารดาตั้งครรภ์เกินกำหนด
มีการเร่งการเจ็บครรภ์โดยใช้ยาเร่งคลอด
ข้อห้าม :no_entry:
Preterm labor หรือมีความเสี่ยงสูงในการเกิด preterm labor
preterm premeture rupture of membrance
มีประวัติผ่าตัดมดลูก หรือ cesarean delivery
placenta previa
Multiple gestation
Polyhydramnios
วิธีตรวจ CST :question:
1.จัดท่า semi-fowler หรือ ท่านอนตะแคงซ้าย
ท่านอนหงายจะทำให้เกิด
supine hypotension
มีผลต่อการแปลผล NST
2.วัดความดันโลหิต
3.ติดเครื่อง electronic fetal monitioring
ติดหัวตรวจ tocodynamometer เพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
ที่ตำแหน่งยอดมดลูก
หัวตรวจ FHR ไว้ที่ตำแหน่งหลังของทารกที่ได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจชัดที่สุด
4.บันทึกรูปแบบการเต้นของหัวใจ ระหว่างที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
3 ครั้งใน 10 นาที นานครั้งละ 40 - 60 วินาที
ถ้าไม่มีการชักนำด้วย :red_cross:
กระตุ้นด้วย oxytocin โดยให้ทางหลอดเลือดดำ เริ่มที่ 0.5 mU/เพิ่มได้ทีละ 2 เท่า ทุก 15-20 นาที จนกระทั่งมี การหดรัดตัวของมดลูก 3 ครั้งใน 10 นาที แต่ละครั้งนาน 40-60 วินาที
การทำ nipple stimulation โดยใช้มือคลึงที่หัวนมทั้งสองข้างอย่างต่อเนื่อง หรือ คลึงไปมาที่หัวนมข้างเดียวนาน 2 นาที แล้วหยุด 5 นาที ถ้าการหดรัดตัวยังไม่ถึงเกณฑ์ให้กระตุ้นแบบเดิมต่อ
5.late deceleration ของ FHR ทุกครั้งที่มีการหดรัดตัวของมดลูก ถึงแม้จะยังไม่ถึง 20 นาที หรือไม่ถึงเกณฑ์การหดรัดตัวที่น่าพอใจก็ให้หยุดทดสอบได้
6.หลังหยุดสังเกตการหดรัดตัวของมดลูก จนหายไป
การแปลผล :tada:
Negative :red_flag:
มดลูกหดรัดตัว 3 ครั้งใน 10 นาที
Late deceleration, Variable deceleration :red_cross:
Positive :red_flag:
ทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว
ช่วงท้าย FHR ลดลง
พบ late deceleration มากกว่าเท่ากับ 50% ของ uterine contraction
Equivocal :red_flag:
Hyperstimulation
Interval < 2 นาที, Duration > 90 วินาที
tetanic contraction
Unsatisfactory
ไม่สามารถอ่านผลของ FHR
ไม่มี Uterine contraction
Suspicious
มี Late deceleration < 50% ของ uterine contraction
BPP : Fetal Biophysical Profile :pencil2:
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์โดยอาศัยการประเมินพฤติกรรมหลายๆอย่างร่วมกัน เพื่อลดผลบวกลวง
การตรวจเพื่อลดผลบวกลวง :fountain_pen:
สัญญาณเฉียบพลัน (Acute marker) :fountain_pen:
การเต้นของหัวใจ :<3:
การเคลื่อนไหว
การหายใจ
tone ของกล้ามเนื้อ
สัญญาณเรื้อรัง (Chronic marker) :fountain_pen:
ลักษณะของรก
เริ่มมีการเสื่อมสภาพ
มี calcification ภายในจะทำให้การไหลเวียนและแลกเปลี่ยนสารอาหารไม่ดี
สัมพันธ์กับ abnormal fetal heart rate pattern
สัมพันธ์กับภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (Placental abruption)
ปริมาณน่ำคร่าลดลง
เกิดจากภาวะ redistribution ของเลือดที่กระจายไปเลี้ยงทุกส่วนของร่างกาย
ไหลเวียนไปยังอวัยวะที่สำคัญเพิ่มมากขึ้น
ทำให้การไหลเวียนโลหิตไปที่ไตน้อยลง
มีผลลดการสร้างปัสสาวะของทารกในครรภ์
ปริมาณน้ำคร่ำน้อย
Parameter ที่ใช้ในการประเมิน biophysical profile :black_flag:
Fetal breathing movement :black_flag:
fetal breathing movement จัดเป็นการเคลื่อนไหวแบบ paradoxical
จังหวะหายใจเข้า จะมีการยุบเข้าของทรวงอกกะบังลมจะเลื่อนต่ำลงไปด้วย
ขณะหายใจออก ทรวงอกจะขยายทางด้านข้าง ส่วนกะบังลมจะเลื่อนขึ้นตามไปด้วย
ถ้ามีการเคลื่อนไหวของทรวงอกและกะบังลมหรือสะอึกนานต่อเนื่อง อย่างน้อย 30 วินาทีตั้งแต่หนึ่งครั้งเป็นต้นไปใน 30 นาที ถือว่าปกติ
การหายใจสัมพันธ์กับ...
อายุครรภ์
ปริมาณออกซิเจนที่ได้รับ
ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดมารดา
การได้รับยากดประสาทอื่นๆ
ทารกจะหายใจมากหลังอาหารเช้า และจะน้อยลงเรื่อยๆจนตํ่าสุดในเวลา 19.00 – 24.00 น.และ เริ่มอีกในเวลา 4.00 – 7.00 น.
สามารถหยุดหายใจได้นานถึง 122 นาที
Body movement :black_flag:
การขยับแขนขาหรือมือ แตะแรงหรือเบาๆ ต้องเห็นอย่างน้อย 3 ครั้งใน 30 นาที
การเคลื่อนไหวของแขนขาและลำตัว พร้อมๆกัน ถือว่าเป็น 1 ครั้ง ไม่นับแยกกัน
Tone :black_flag:
การเคลื่อนไหวแบบเหยียดงอของแขนขาหรือกำและคลายมือ (flexion and deflexion) อย่างน้อย 1 ครั้ง แปลว่าปกติ
Amniotic fluid measurement :black_flag:
บ่งบอกได้ถึงภาวะเครียดของทารก
ทำให้สร้างปัสสาวะได้น้อย
เป็นปัจจัยให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน
ปริมาณน้ำคร่ำในที่นี้ใช้แอ่งที่ลึกที่สุด (deep vertical pocket, DVP)
โดยตามเกณฑ์ต้องมีอย่างน้อย 1 แอ่งที่มีความลึกมากกว่า 2 เซนติเมตร แปลผลว่า ปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ (polyhydramnios) ซึ่งแอ่งที่ลึกที่สุดมีค่ามากกว่า 8 เซนติเมตร
ตรวจหา
ความผิดปกติของทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความผิดปกติของระบบประสาท
ปริมาณน้ำคร่ำน้อยผิดปกติ (oligohydramnios ) หรือมีแอ่งน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดน้อยกว่า 2 เซนติเมตร
มักจะสัมพันธ์กับภาวะทารกโตช้าในครรภ์และมีแนวโน้มที่จะเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์
NST :black_flag:
การประเมิน :check:
Fetal breathing movement
2 คะแนน : หายใจอย่างน้อย 1 ครั้ง นาน 30 วินาที
0 คะแนน : ไม่มีการหายใจใน 30 นาที มีการหายใจแต่ไม่ถึง 30 วินาที :red_cross:
Body movement
2 คะแนน : มีการเคลื่อไหว > 2 ครั้ง ใน 30 นาที
0 คะแนน : การเคลื่อนไหว < 2 ครั้งใน 30 นาที
Tone
2 คะแนน : มีการงอแขนหรือเหยียดแขนอย่างน้อย 1 ครั้ง
0 คะแนน : มีการงอหรือเหยียดอย่างช้า
NST
2 คะแนน : Reactive
0 คะแนน : Non - reactive
Amniotic fluid volume
2 คะแนน : มีแอ่งน้ำคร่ำที่วัดได้ในแนวดิ่งอย่างน้อย 2 cm อย่างน้อย 1 แอ่ง
0 คะแนน : แอ่งน้ำคร่ำที่วัดได้ในแนวดิ่ง < 2 cm
การแปลผลคะแนน :tada:
8-10 คะแนน :red_flag: : ปกติ เฝ้าติดตาม
4-6 คะแนน :red_flag: : ตรวจซ้ำภายใน 4-6 ซม.
< 6 คะแนน : .ให้คลอด
มากกว่า 6 คะแนน : เฝ้าติดตาม
0-2 คะแนน : :red_flag: ให้คลอด
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ biophysical profile score
ปัจจัยทางมารดา
การได้รับยาหรือสารต่างๆ
กลุ่มยานอนหลับ, ยาที่มีผลข้างเคียงทำให้ง่วงซึม
aldomet (ยาลดความดันโลหิต)
ยากระตุ้นประสาท
theophyline
ยาเสพติด
โคเคน
แอมเฟตามีน
ยา indomethacin
สูบบุหรี่
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
มีเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ได้รับยาที่มีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ : ทุพโภชนาการ
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ketoacidosis
ปัจจัยด้านทารก
การแปรปรวนของพฤติกรรมทารกในครรภ์ บางครั้งอาจจะลดลงได้
มีการหายใจอย่างต่อเนื่อง
การเคลื่อนไหวที่ไม่ได้เป็นรูปแบบปกติทั่วไป
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ภาวะ acidosis ของทารกในครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมเล็กน้อย โดยที่น้ำคร่ำปกติ
Ultrasound :pencil2:
คือ
การตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงผ่านทะลุเข้าสู่อวัยวะภายในเพื่อจับภาพอวัยวะหรือส่วนต่างๆภายในร่างกาย
ประเมินอายุครรภ์
ขนาดทารก
การเกาะของรก
ปริมาณน้ำคร่ำ
เพศทารก
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 18-20 wk. :!:
มี 2 ชนิด
การตรวจอัลตร้าซาวด์ทางหน้าท้องใช้ในการตรวจครรภ์ในระยะไตรมาสที่ 2 – 3 เพื่อที่จะได้เห็นภาพของทารกและรกที่ชัดเจนมากขึ้น
การตรวจอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอดใช้ตรวจครรภ์ในช่วงไตรมาสแรก เพื่อที่ได้เห็นภาพ ของปากมดลูก มดลูก ถุงน้ำคร่ำ ตัวอ่อน และโครงสร้างลึกๆของอุ้งเชิงกราน
การตรวจ :fountain_pen:
ไตรมาสแรก :fountain_pen:
สำหรับภาวะฉุกเฉินภาวะการมีเลือดออก :warning:
ภาวะแท้ง
การตั้งครรภ์ในโพรงมดลูกที่ผิดปกติ (Abnormal intrauterine pregnancy)
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
ตำแหน่งของถุงการตั้งครรภ์ เพื่อแยกการตั้งครรภ์นอกโพรงมดลูก
ลักษณะถุงการตั้งครรภ์
ถุงไข่แดง (Yolk sac)
ความยาวของตัวอ่อน (Crown Rump Length)
ตัวอ่อน
การเต้นของหัวใจตัวอ่อน จำนวนตัวอ่อน
เป็นครรภ์แฝด :!:
Amnionicity
Chorionicity
ลักษณะของมดลูก รวมถึงอวัยวะอื่นๆในอุ้งเชิงกราน
ไตรมาสสองและไตรมาสสาม :fountain_pen:
สำหรับภาวะฉุกเฉินภาวะการมีเลือดออก :warning:
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (placental abruption)
สายสะดือเกาะที่เยื่อหุ้มเด็กโดยผ่านปากมดลูกด้านใน (Vasa previa)
เลือดออกบริเวณขอบรก (Marginal sinus separation)
ส่วนนำ (Presntation)
การเต้นของหัวใจ
ปริมาณน้ำคร่ำ
การประเมินอายุครรภ์
การคาดคะเนน้ำหนักทารก
ประเมินมดลูก, ปีกมดลูกและปากมดลูก
ลักษณะความผิดปกติของทารกในครรภ์
จำนวนทารก, ขนาดทารก, ปริมาณน่ำคร่ำและเพศของทารก
เป็นครรภ์แฝด :!:
Amnionicity
Chorionicity
วิธีการตรวจ :fountain_pen:
ให้ดื่มน้ำและกลั้นปัสสาวะ ถ้าตรวจ ultrasound ทางหน้าท้องจะเปิดหน้าท้องแล้วใช้ครีมทาหน้าท้องและใช้หัวนำเสียงวางบนครีม
Doppler ultrasound
สามารถบอกถึงความเร็วและปริมาณเลือดที่ไหลผ่าน
วิเคราะห์ได้ 2 วิธี
วัดปริมาณไหลเวียนเลือดโดยตรง เป็นวิธีที่มีข้อจำกัดด้านการวัด มีความคลาดเคลื่อนได้มากจึงไม่แนะนำให้วิธีใช้ :green_cross:
การเมินทางอ้อมโดยการวิเคราะห์รูปคลื่น Doppler waveform เป็นที่นิยมมากว่า :check:
การวิเคราะห์รูปคลื่นของเส้นเลือดในทารก :fountain_pen:
Umbilical artery :fountain_pen:
สามารถตรวจหาได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องเห็นตำแหน่งของสายสะดือ
ปัญหามักสัมพันธืกับการไหลเวียนของเลือดมาที่รกลดลง มีความต้านทานที่รกเพิ่มขึ้น
Middle cerebral artery : :fountain_pen:
เป็นการวัดการไหลเวียนของเลือดในสมองทารก
ทารกที่มีปัญหา hypoxia หรือ IUGR จะมีการไหลเวียนเลือดที่เพิ่มมากขึ้นไปยังอวัยวะสำคัญ
brain sparing effect
ช่วยวินิจฉัยภาวะ IUGR สำหรับทารกที่มีปัญหาเรื่องซีด
Ductus venosus และ umbilical vein :fountain_pen:
เป็นตัวที่บ่งชี้ถึงการทำงานของหัวใจ
ในรายที่มีการทำงานของหัวใจล้มเหลวจากสาเหตุต่างๆ
สามารถประเมินความรุนแรงของโลกได้
ทารกโตช้าในครรภ์ชนิดรุนแรง
หัวใจพิการ
ทารกบวมน้ำ (Hydrops fetalis)
การแปลผลเส้นเลือดในทารกและมดลูก :tada:
ค่า Dlopper ปกติ :red_flag: ในทารกขนาดตัวเล็กโดยธรรมชาติแต่ไม่เป็น IUGR
ค่า Dlopper ผิดปกติ ในรายที่เป็น IUGR :red_flag:
การเสื่อมของเส้นเลือดบริเวณรก
Down's syndrome :pencil2:
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการ ที่โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 โครโมโซม เด็กกลุ่มอาการดาวน์จะมี 47 โครโมโซม
การตรวจคัดกรอง :fire:
First-trimester screening :fire:
ตรวจเมื่ออายุครรภ์ 11-13 wk.
สามารถคัดกรอง 80%
โดยตรวจสารชีวเคมีในเลือดหญิงตั้งครรภ์
Human Chorionic Gonadotropin (hCG)
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรม ค่า hCG จะสูงกว่าปกติ
ผลิตจากรก
Pregnancy-associated placenta protein A (PAPP-A)
ผลิตจากถุงไข้แดงของตัวอ่อนและตับ
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรม PAPP-A จะต่ำกว่าปกติ
Nuchal translucency (NT)
ตรวจอัลตราซาวน์เพื่อวัดความหนาของน้ำที่สะสมบริเวณด้านหลังคอ
Second-trimester screening :fire:
Alpha-fetoprotein (AFP)
ผลิตจากถุงไข่แดงของตัวอ่อนและตับ
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรม AFP จะต่ำกว่าปกติ
Human Chorionic Gonadotropin (hCG)
ผลิดจากรก
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรม hCG จะสูงกว่าปกติ
Unconjugated estriol (uE3)
ผลิตจากรกและต่อมหมวกไตของตัวอ่อน
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรม ค่า uE3 จะต่ำกว่าปกติ
Quadruple marker test
สามารถคัดกรองได้ 80%
ผลิตจากรก
ถ้าเป็นดาวน์ซินโดรมค่าจะสูงกว่าปกติ
ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงให้ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยวิธีการเจาะน้ำคร่ำ (Amniocentesis)
Sequential first and second trimester screening :fire:
สามารถคัดกรองได้ 90%
หญิงตั้งครรภ์ที่ผลการตรวจคัดกรองอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงจะได้รับคำแนะนำและให้ทางเลือกในการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
ส่วนหญิงตั้งครรภ์ที่ผลการตรวจคัดกรองอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงต่ำจะได้รับการตรวจคัดกรองในไตรมาสสองต่อ
การตรวจวินิฉัย :fountain_pen:
CVS : Chorionic villus sampling :fountain_pen:
การตรวจเนื้อรก
ผ่าน cervix
ผ่านผนังหน้าท้อง
อาศัย ultrasonogram
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 8-11 wk. :!:
คัดกรองแม่ที่เสี่ยง :question:
แม่ที่มีอายุ > 35 ปี :!:
เสี่ยง Down's syndrome :!:
หลังทำ เสี่ยงแท้งมากที่สุด :!!:
Cordocentesis :fountain_pen:
การเจาะเลือดจากสายสะดือ
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 20-22 wk. :!:
ภาวะแทรกซ้อน คือ การแท้งบุตร :!!:
Amniocentesis :fountain_pen:
การตรวจน้ำคร่ำ
อายุครรภ์ที่เหมาะสมในการตรวจคือ GA 16-18 wk. :!:
คัดกรองแม่ที่เสี่ยง :question:
เสี่ยง Down's syndrome :!:
Thalassemia
เสี่ยงติดเชื้อ :warning:
หลังทำ งด! ออกแรง :no_entry:
ยกของหนัก :no_entry:
งดมีเพศสัมพันธ์ 4-5 วัน :no_entry:
การแปลผล :tada:
Positive :red_flag:
มีความเสี่ยงสูงกว่า 1 ใน 200
มีความเสี่ยงเช่นเดียวกับหญิงตั้งครรภ์ที่มากกว่า 35 ปี
คำแนะนำจากแพทย์
ให้ทางเลือกในการตรวจโครโมโซม
ตรวจน้ำคร่ำ
การตัดเชื้อเนื้อรก
Negative :red_flag:
มีความเสี่ยงต่ำกว่า 1 ใน 200
มีโอกาสเกิดน้อยมาก
ไม่มีความจำเป็นต้องทำการตรวจวินิจฉัยต่อไป