Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ (ความคิดสร้างสรรค์…
ความคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
การแก้ปัญหาเขิงสร้างสรรค์
การคิดแบบเอกนัย
คิดหาวิธีแก้ปัญหาแบบหลากหลาย
การคิดเอกนัย
ค้นพบความคิดที่มีคุณภาพโดยการคัดเลือก
กระบวนการแก้ปัญหา
การค้นพบปัญหา
ระบุปัญหาที่เป็นไปได้ทั้งหมด
ปัญหาใหญ่
ปัญหาย่อย
การค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่เป็นไปได้
แก้ปัญหาให้มากที่สุด มีลักษณะแปลกใหม่
การค้นหาความจริง
มองหลายๆมุมมอง ค้นหาสาเหตุ
การค้นพบวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสมที่สุด
ประเมินข้อดีและข้อจำกัดและตัดสินใจ
การวางแผนสำหรับดำเนินการแก้ปัญหา
แก้ปัญหาที่ตัดสินใจเลือกไว้อย่างมีเหตุผล
การค้นหาเป้าหมาย
การตั้วเป้าหมาย
ทักษะความคิดขั้นสูง
การคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
การแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
คำจำกัดความ
บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์
มีความสามารถแก้ปัญหา
รื่นเริง ขี้เล่น
ไม่ทำตามผู้อื่นโดยไม่มีเหตุผล
อดทน
ไม่ล้มเลิกอะไรง่ายๆ
จินตนาการสูง
ชอบรับประสบการณ์ใหม่ๆ
มีความเป็นผู้นำ
มีความคิดอิสระ ยืดหยุ่น
ยอมรับและสนใจสิ่งแปลก
ไม่เคร่งครัดกับระเบียบ
ไม่ยึดมั่นสิ่งหนึ่งมากเกินไป
มีอารมณ์ขัน
ความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นลักษณะของชิ้นงาน
สิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่
กระบวนการคิดสร้างสรรค์
กระบวนการทำงานของสมองอย่างเป็นขั้นตอน
แนวคิดทฤษฎี
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการทางความคิด
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนทางจิต
องค์ประกอบ
ความคิดคล่องแคล่ว
ปริมาณความคิดที่ไม่ซ้ำกันในเรื่องเดียวกัน
ความคิดยืดหยุ่น
ประเภทความคิด
เกิดขึ้นทันที
ด้านการดัดแปลง
ความคิดริเริ่ม
แปลกใหม่ ต่างจากความคิดธรรมดา
ความคิดละเอียดลออ
เป็นจุดสำคัญของความคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการพัฒนา
เทคนิควิธีการระดมสมอง
ปริมาณนำไปสู่คุณภาพ
ชะลอการตัดสินใจ
วิธีการ
ทุกคนแสดงความคิดอย่างเสรี
ต้องการปริมาณความคิดของแต่ละคนให้มากที่สุด
งดเว้นการวิพากษ์วิจารณ์ความคิดของตนเองและผู้อื่น
ประสานความคิดของทุกคนเพื่อหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น
วิธีการสังเคราะห์โครงสร้าง
จดลำดับความคิดปัญหาทีละด้านแล้วนำมาพิจารณา
วิธีซีเนคติกส์
ใช้ลักษณะการเทียบเคียงหรืออุปมาอุปไมย
การพัฒนาทัศนคติ
อย่ากลัว กล้าเสี่ยง
อย่าหมดกำลังใจเมื่อไม่พบคำตอบ
อย่ารักสบาย
อย่าท้อใจกับความผิดพลาด
อย่าปิดตัวเองในวงแคบ
อย่าละทิ้งความคิดใดๆ ต้องชะลอตัดสินใจ
อย่าพวกมากลากไป ต้องลองหัวเดียวกระเทียมลีบดูบ้าง
อย่ากลัวการเผยแพร่ผลงาน
อย่าคิดแง่ลบ คิดบวก
ความสัมพันธ์กับนวัตกรรมและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ใช้แก้ปัญหาและการตัดสินใจทางคลินิก
บูรณาการกระบวนการคิดของบุคคล
นำไปสู่การตัดสินใจที่ถูกต้อง
นวัตกรรม
ทำให้เกิดพลวัตรด้านต่างๆ
เศรษฐกิจ
การเมือง
สังคม
วัฒนธรรม
เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
คิดค้นสิ่งใหม่อย่างไม่สิ้นสุด
ประเภท
นวัตกรรมอย่างสิ้นเชิง
นวัตกรรมการเรียนรู้อย่างค่อยเป็นค่อยไป