Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Immune Thrombocytopenia Purpura images (อาการและอาการแสดง…
Immune Thrombocytopenia Purpura
พยาธิสภาพ
เกิดจากการที่ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อตัวเอง (autoantibody) ชนิด immunoglobulin G (IgG) ต่อตัว glycoprotein IIb/IIIa และ Ib/IX ที่อยู่บนผิวของเกล็ดเลือดแล้วถูกนำไปทำลายที่ม้าม และ autoantibody ยังรบกวนขบวนการสร้างเกล็ดเลือดอีกด้วย ตรวจพบ autoantibody ร้อยละ 75 ของผู้ป่วย ITP ส่วนอีกกลไกหนึ่งเชื่อว่าเกล็ดเลือดถูกทำลายให้มีปริมาณลดลงผ่านทางกลไกของเซลล์ชนิด cytotoxic T lymphocyte (ธีรชิต โชติสัมพันธ์เจริญ, 2560)
กลไกที่ท่าให้เกล็ดเลือดถูกทำลายในโรค ITP ในเด็กยังไม่ทราบแน่ชัด ปัญหาเกล็ดเลือดต่่าจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วอันเป็นผลมาจากกลไกทางอิมมูนโดยพบว่าหลังจากได้รับการติดเชื้อไวรัสหรือการได้รับวัคซีนบางชนิดเช่น หัด หัดเยอรมัน คางทูม ผู้ป่วยเหล่านี้มีแอนติบอดีต่อผนังของเกล็ดเลือดของตนเอง (autoantibody) ซึ่งมีความจ่าเพาะต่อ GP IIb/IIIa แอนติบอดีเหล่านี้อาจมีบทบาททำให้เกล็ดเลือดถูกทำลายโดยเซลล์ ในระบบ retculoendothelial ดังนั้นเกล็ดเลือดเมื่อไหลผ่านหลอดเลือดในม้ามจะถูกตรวจพบ (recognized) และถูกจับโดย Fcγ receptor บน macrophage ของม้ามและถูกทำลายในเวลาต่อมา (สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย, 2560)
ความหมาย
ภาวะที่มีเลือดออกเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำกว่าปกติ เพราะถูก antibody ทำลายเป็นโรคที่เกิดขึ้นภายหลังอาจมีเลือดในสมองพบในเด็กอายุตั้งแต่ 1 เดือน - 5 ปี
อาการและอาการแสดง
- มีประวัติเลือดออกง่ายหรือมีการติดเชื้อไวรัสมาก่อนประมาณ 2-3 สัปดาห์
-
-
-
-
-
- ตรวจร่างกายพบเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
ลักษณะจุดเลือดออก (petechiae, purpuric spot) หรือจ้ำเลือด (ecchymoses)
-
-
-
-
การรักษา
์Newly diagnosed ITP
ระดับ 1 มีเลือดออกเล็กน้อย มี petechiae น้อยกว่า 100 จุดหรือจ้ำเลือดขนาดเล็กกว่า 3 เซนติเมตร น้อยกว่า 5 ตำแหน่ง และไม่มีเลือดออกตามเยื่อบุต่างๆ แนะนำให้สังเกตอาการไปก่อน
ระดับ 2 มีเลือดออกเล็กน้อย มี petechiae มากกว่า 100 จุดหรือจ้ำเลือดขนาดเล็กกว่า 3 เซนติเมตร น้อยกว่า 5 ตำแหน่ง และไม่มีเลือดออกตามเยื่อบุต่างๆ แนะนำให้สังเกตอาการไปก่อนหรือพิจารณาให้การรักษาในโรงพยาบาลในผู้ป่วยบางราย
ระดับ 4 มีเลือดออกตามเยื่อบุต่างๆ หรือสงสัยมีภาวะเลือดออกในอวัยวะภายใน สามารถเริ่มการรักษาได้ทันทีผู้ป่วยที่มีอาการเลือดออกระดับ 3 และ 4 ให้รับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ระดับ 3 มีเลือดออกปานกลาง โดยพบเลือดออกในเยื่อบุต่างๆ ชัดเจน หรือเลือดออกนั้นรบกวนการใช้ชีวิตประจำวันแนะนำให้เริ่มการรักษา เพื่อลดระดับความรุนแรงของภาวะเลือดออก
ยาในการรักษา
Corticosteroid
-
มีการออกฤทธิ์ยับยั้ง phagocytosis และ
ลดการสร้างภูมิต้านทาน กระตุ้นให้มีการสร้างเกล็ดเลือดมากขึ้น และยังเพิ่มความแข็งแรงของเซลล หลอดเลือด
Prednisolone 1-2 มก./กก./วัน นาน 14 วันและค่อยๆลดขนาดยาจนหยุด หรือขนาด 4 มก./กก./วัน เป็นเวลา 4 วันสามารถหยุดยาได้เลย
-
-
Anti-D
anti-D จะเข้าไปจับกับ Rh (D) group บนผิวเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงถูกจับที่ Fcγ receptor ของ macrophage ทำให้โอกาสที่เกล็ดเลือดจะถูก phagocytosis ลดลง แต่ผู้ป่วยก็จะมีอาการซีดลงได้บ้างหลังให้การรักษาด้วยวิธีนี้
-
-
-
-
-
-
-
-