Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(:unlock: วัฒนธรรม การมีส่วนร่วมทางการ เมืองของชาวตะวันตก …
:unlock:
วัฒนธรรม
การมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของชาวตะวันตก
ในประเทศที่พัฒนาแล้ว
ด้านการศึกษา
มีการปลูกฝังค่านิยมที่สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตย
ประชาชนตระหนักถึงการเป็นพลเมืองที่มีสิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมือง
ประชาชนได้รับการศึกษาที่เท่าเทียม
ประชาชนเชื่อมั่นว่าระบอบประชาธิปไตยจะสามารถพัฒนาประเทศ ให้ดีขึ้น
การมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
วัฒนธรรมทางการเมือง
แบบมีส่วนร่วม (The Participant Political Culture)
กลุ่มคนที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเมืองและตระหนักถึงคุณค่าและบทบาทของตนที่มี ต่อระบบการเมือง
การเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองเพื่อควบคุม กํากับ และตรวจสอบการบริหารของผู้ปกครอง ให้เป็นไปตามความต้องการของประชาชน
การปกครองแบบ การกระจายอำนาจ ที่มีประสิทธิภาพ
ประชาชนมีความใกล้ชิดทางการเมืองมากขึ้น
ประชาชนมีความใกล้ชิดทางการเมืองมากขึ้น
ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร
ประชาชนมีพื้นที่แลกเปลี่ยนข่าวสารร่วมกัน
การมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
ปราศจากการที่ภาครัฐเข้ามามีบทบาทในการควบคุมพื้นที่สื่อออนไลน์
ประชาชนสามารถวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นเกี่ยวกับการเมืองได้
ระบบการจัดการที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อนเกินไป
การดำเนินการเอกสารทางราชการมีการจัดการที่เป็นระบบ
ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐ
ด้านทัศนคติ
และความเชื่อ
สร้างจิตสํานึกทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชน
ด้านเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจมีความมั่นคง
ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองสามารถเรียกร้องผลประโยชน์และความต้องการต่อรัฐบาลได้
:star:
วัฒนธรรม
การมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของชาวเอเชีย
ในประเทศที่กำลังพัฒนา
ด้านการศึกษา
มีการปลูกฝังค่านิยมที่ขัดแย้งกับพัฒนาการการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การสร้างความจงรักภักดีส่วนบุคคล (Personal Loyalty)
การยินยอมอย่างราบคาบ (Deference)
การเคารพนับถือ (Respect)
ประชาชนที่ไม่มีความรู้
ประชาชนไม่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองมากพอ
ไม่สามารถออกมาเรียกร้องผลประโยชน์ของตนเอง
ประชาชนที่มีความรู้
ไม่เชื่อว่าระบอบประชาธิปไตยจะสามารถพัฒนาประเทศ ให้ดีขึ้น
การมีส่วนร่วมทางการเมืองน้อย
การปกครองแบบ การรวมศูนย์อำนาจ
ประชาชนไม่สนใจที่จะมีส่วนร่วมทางการเมือง
เพราะ การตัดสินใจทั้งหมดอยู่ที่ส่วนกลาง ซึ่งเป็นผู้จัดการทางด้านการบริหาร การจัดการ
ประชาชนส่วนใหญ่ไม่ออกมาเรียกร้องความต้องการที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมือง
ระบบการเมืองแบบนิ่งเฉยทางการเมือง (Political Passivity)
ระบบการจัดการที่ซับซ้อนเกินไป
การดำเนินการเอกสารทางราชการมีความยุ่งยากหลายขั้นตอน
ประชาชนไม่อยากเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับรัฐ
ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร
ประชาชนมีพื้นที่แลกเปลี่ยนข่าวสารร่วมกัน
การมีส่วนร่วมทางการ
เมืองมากขึ้น
ภาครัฐเข้ามามีบทบาทในการควบคุมพื้นที่สื่อออนไลน์ คอยควบคุมความประพฤติของประชาชน
ประชาชนต้องคอยระมัดระวังหากมีการแลกเปลี่ยนข่าวสารในสื่อออนไลน์
ประชาชนไม่สามารถวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นเกี่ยวกับการเมืองได้
ด้านทัศนคติ
และความเชื่อ
เป็นอุปสรรคในการสร้างจิตสํานึกทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชน
ความเชื่อด้านศาสนา
ในสมัยก่อนที่ยังปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ ไพร่ และทาสถูกศาสนาพุทธทำให้เชื่อว่าที่ประชาชนเกิดมาเป็นข้ารับใช้ของคนอื่นนั้นเป็นเพราะเวรกรรมที่ทำมาในอดีตชาติ
ไพร่และทาส พยายามปฏิบัติตนรับใช้เจ้านายให้ดี และอยู่ภายใต้คำสั่งของเจ้านาย เพื่อคาดหวังว่าผลบุญที่ตนทำในครั้งนี้จะส่งผลในภายภาคหน้า
ความเชื่อและวัฒนธรรมเช่นนี้ปลูกฝังและสืบทอดมารุ่นต่อรุ่น
ทำให้เกิดความเกรงกลัวในเรื่องของเวรกรรม
ประชาชนไม่มีแรงจูงใจที่จะมีส่วนร่วมทางการเมือง
วิสุทธิ์ โพธิ์แท่น
สรุปรูปแบบวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมไทย
1.) ลักษณะของความเป็นอิสระ (Individualism)
ทําให้คนไทยไม่นิยมการรวมกลุ่มแบบมีหลักเกณฑ์ เพื่อทํา ประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือเพื่ออิทธิพลทางการเมือง
2.) ความเป็นผู้ไม่ชอบความสลับซับซ้อนยุ่งยาก(LoveofSimplicity)
คนไทยเกิดความเฉื่อยชา (Apalby/ Indifference) ในทางการเมือง
3.) การบูชาอํานาจ (Acquiescence to Power and Authority)
คนไทยกลัวเกรง “ผู้มีอํานาจ” โดยไม่พิจารณาถึงเหตุผล และความชอบธรรมในการ ปกครอง
วัฒนธรรมการเมืองแบบ
ไพร่ฟ้าผสม
แบบมีส่วนร่วม
(The Subject-Participant Culture)
ประชาชนบางส่วนเริ่มมีความสนใจที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางการเมือง
เชื่อว่าตนมีบทบาท และมีอิทธิพลที่จะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ประชาชนบางส่วนเมินเฉยและไม่สนใจที่จะมีส่วนร่วมทางการเมือง