Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal Care (:baby::skin-tone-3: Preterm :baby::skin-tone-3:, :girl:…
Antenatal Care
:girl::skin-tone-2: ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
:star: หญิงตั้งครรภ์ อายุ 23 ปี G2P1A0
GA 20+2 wks by date
:star: LMP 29 ตุลาคม 2562
:star: EDC 4 สิงหาคม 2563
ประวัติการเจ็บป่วย
ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธ
:star: วัคซีนบาดทะยัก
:check: ครั้งที่ 2 ปี 2559 รพ.พระมงกุฎฯ
:check: ครั้งที่ 3 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563
:check: ครั้งที่ 1 ปี 2559 รพ.พระมงกุฎฯ
:star: น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 47 kg. ส่วนสูง 165 cm.
:!: BMI = 17.26 kg./m^2
:!: น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (18.5-24.9)
น้ำหนักปัจจุบัน 50.5 kg. เพิ่มมา 3.5 kg.
ตลอดการตั้งครรภ์มารดาควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น
12.5-18 kg.
ไตรมาส 2 ควรเพิ่ม 0.5 kg/week
ประวัติการแพ้ยา
ปฏิเสธ
:star: First ANC : 15 มกราคม 2563 GA 11+1 wks by date
:warning: High risk
:!: HBsAg = positive HBeAg = positive
:red_flag: Notify
Preterm
AB screening = positive
:star: การตรวจครรภ์
ตรวจด้วยวิธี Leopold maneuver ระดับยอดมดลูกอยู่ระดับสะดือ Head float คลำไม่พบส่วนนำ
ขนาดหน้าท้องเหมาะสมกับอายุครรภ์ วัดขนาดหน้าท้องได้ 20 ซม. ทารกอยู่ในแนว Longitudinal lie หน้าท้องมี linea nigra และมี striae gravidarum สีเงิน
:star: การตรวจร่างกาย
-ศีรษะ : หนังศีรษะสะอาด ไม่มีรังแค ไม่มีบาดแผล
-ตา : เยื่อบุตาสีชมพู
-จมูก : สมมาตรไม่มีบาดแผล
-ช่องปากและฟัน : ไม่มีแผล ไม่มีฟันผุ
-ลำคอ : คลำไม่พบก้อน ต่อมไทรรอยด์ปกติ
-เต้านม : หัวนม ลานนมปกติ
-แขนและขา : ไม่บวม
:star: ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hemoglobin(Hb) 9.8 g/dL :arrow_down:
Hematocrit (Hct) 29.2 % :arrow_down:
RBC 3.92 10^6/uL :arrow_down:
VDRL Non-reactive
HBsAg Positive :red_flag:
HIV Ab Negative
HBeAg Positive :red_flag:
ABO Group : A
Rh Group : Positive
W.B.C(UA) 2-3 /HPF
Epithelial cell 3-5 /HPF
Problem list
1.หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในระบบทางดินปัสสาวะ เช่น มีไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะขุ่นหรือมีเลือด ปัสสาวะกะปริบกะปรอย รู้สึกปัสสาวะไม่สุด เป็นต้น
2.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ควรดื่มน้ำ 2-3 ลิตรต่อวัน เพื่อให้มีการขับถ่ายปัสสาวะที่ปกติ
3.แนะนำการขับถ่ายปัสสาวะ ให้ขับถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งในแต่ละวัน เมื่อรู้สึกปวดปัสสาวะให้รีบปัสสาวะทันที หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะ เนื่องจากถ้ากลั้นปัสสาวะนานๆจะทำกระเพาะปัสสาวะอักเสบได้ และมีการสะสมของเชื้อแบคทีเรียที่ท่อปัสสาวะ
4.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังขับถ่ายปัสสาวะ-อุจจาระทุกครั้ง โดยล้างด้วยน้ำเปล่าหรือล้างด้วยน้ำสบู่ ควรเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังไม่เช็ดย้อนไปมา และควรซับให้แห้งทุกครั้ง เพื่อไม่ให้หมกหมม อับชื้น และเพื่อลดจำนวนแบคทีเรียที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
5.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้ารัดรูป และการสวมถุงน่องเป็นเวลานาน แนะนำให้สวมกางเกงที่ระบายอากาศได้ดี หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง เพราะการกระทำเหล่านี้มักจะทำให้ผิวหนังเสียดสีกับ บริเวณช่องคลอดและส่วนอื่นของร่างกาย อาจนำเนื้อเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ท่อปัสสาวะได้
3.หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อภาวะพร่องโภชนาการ เนื่องจากได้รับสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
2.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเพิ่มของน้ำหนักในแต่ละไตรมาส ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกายน้อยกว่าเกณฑ์ (น้อยกว่า 18.5 kg/m2) ตลอดการตั้งครรภ์น้ำหนักตัวควรเพิ่ม 12.5-18 กิโลกรัม
ในไตรมาสแรก น้ำหนักควรเพิ่มสัปดาห์ละ 0.5-2 กิโลกรัม
ในไตรมาสที่ 2 และ 3 น้ำหนักควรเพิ่มสัปดาห์ละ 0.5 กิโลกรัม
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจของหญิงตั้งครรภ์ในการรับประทานอาหารและการปฏิบัติตน โดยการพูดคุย และสอบถามวิธีการดูแลตนเอง
3.แนะนำให้ชั่งน้ำหนักทุกสัปดาห์ ควรชั่งในตอนเช้าทุกสัปดาห์ เพื่อประเมินการเพิ่มขึ้นของน้ำหนัก
4.แนะนำการรับประทานอาหาร
ควรรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการในสัดส่วนที่พอเหมาะกับความต้องการ
อาหารประเภทโปรตีน กลุ่มเนื้อสัตว์ ได้รับจาก หมู ปลา ไก่ วันละประมาณ 120-180 กรัม หรือมื้อละ 3 ช้อนโต๊ะวันละ 3 มื้อ ไข่ ควรกินวันละ 1 ฟอง ถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ เต้าหู้หรือน้ำเต้าหู้
ประเภทพลังงาน กลุ่มข้าวแป้ง เช่น ข้าว เผือก มัน ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ ซึ่งให้คาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก
กลุ่มไขมันจากพืชและสัตว์ เช่น น้ำมันพืช กะทิ เนย เป็นต้น ซึ่งเป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ควรรับประทานในปริมาณที่น้อยลง แต่ไม่ควรงด
นม ควรดื่มเป็นนมรสจืด นมพร่องมันเนย หรือนมที่มีไขมันต่ำ วันละ 1-2 แก้ว
ผักและผละไม้ควรรับประทานทุกวัน เพิ่มเพิ่มกากใยอาหารและวิตามิน ไม่ควรรับประทานผลไม้ที่รสหวานจัด หรือที่มีน้ำตาลสูง เช่น ทุเรียน มะม่วงสุก ขนุน เป็นต้น
น้ำควรดื่มวันละประมาณ 2 ลิตร หรือ 6-8 แก้ว
วิตามินที่และเกลือแร่ควรได้รับในหญิงตั้งครรภ์
แคลเซียม ช่วยพัฒนาระบบประสาท กล้ามเนื้อ หัวใจและหลอดเลือด เช่น นม ปลาเล็กปลาน้อย ปลาซาร์ดีน กุ้งฝอย กุ้งแห้ง ผักกวางตุ้ง เป็นต้น
ธาตุเหล็ก ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ตับ เลือด เครื่องใน ผักใบเขียว เป็นต้น ควรรับประทานคู่กับอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ส้ม ฝรั่ง ซึ่งจะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดี หลีกเลี่ยงการรับประทานธาตุเหล็กกับนม ชา กาแฟ แคลเซียม เพราะว่าอาหารเหล่านี้จะไปขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก
ไอโอดีน ถ้าขาดไอโอดีนอย่างรุนแรง ทำให้เกิดภาวะพร่อง Thyroid hormone ทารกจะมีความผิดปกติของระดับสติปัญญา การเจริญเติบโตของเซลล์สมองไม่สมบูรณ์ และการพัฒนาระบบประสาทและกล้ามเนื้อบกพร่อง เช่น สัตว์ทะเล ปลาทะเล สาหร่ายทะเลแห้ง เป็นต้น
โฟเลต หากร่างกายได้รับไม่เพียงพอจะทำให้มีภาวะโลหิตจางได้ ผักและผลไม้เป็นแหล่งอาหารที่มีโฟเลต เช่น กุ๋ยช่าย มะเขือเทศ ดอกกะหล่ำ แครอท แตงกวา ผักใบเขียว ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น
ในการรับประทานอาหารควรรับประทานเป็น 3 มื้อหลัก ได้แก่ มื้อเช้า มื้อกลางวัน และมื้อเย็น และควรมีอาหารว่างเป็นอาหารระหว่างมื้อ ในช่วงเช้าและบ่าย งดรับประทานขนม เครื่องดื่มที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่ำ เช่น ขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม เป็นต้น
ควรเพิ่มปริมาณอาหารในแต่ละมื้อ ควรค่อยๆเพิ่มปริมาณทีละน้อยๆ ควรเพิ่มปริมาณอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์และกลุ่มนม เพื่อให้ได้สารอาหารโปรตีน ซึ่งจำเป็นต่อการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ รวมทั้งการเจริญเติบโตของเซลล์สมอง ควรเพิ่มปริมาณอาหารที่ให้พลังงาน เพื่อให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น และเพียงพอต่อความต้องการร่างกาย
5.แนะนำให้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง วันละ 30 นาที อย่างน้อย 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ ควรออกกำลังกายที่เป็นกิจกรรมเบาๆ ไม่หนักเกินไป เช่น การเดินช้า โยคะ เป็นต้น
6.แนะนำให้รับประทานวิตามินเสริมตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ Folic acid 1x1 oral pc, Iodine 1x1 oral pc, Dimen 1x3 oral pc, B6 1x1 oral HS เป็นประจำทุกวัน
7.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ทำการฟ โชนาการ Vallop curve ในสมุดฝากครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและติดตามแนวโม้นการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของหญิงตั้งครรภ์
2.หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงมีภาวะโลหิตจาง
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะโลหิตจาง เช่น เยื่อบุตาขาวซีด ตัวซีด ปวดหัว อ่อนเพลีย เหนื่อย เวียนศีรษะ เจ็บหน้าอก มือเท้าเย็น เป็นต้น
2.แนะนำหญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เน้นรับประทานอาหารที่ธาตุเหล็กสูง ควรได้รับในปริมาณ 30 มิลลิกรัมต่อวัน เช่น ตับ เลือด เครื่องใน ผักใบเขียว แครอท ไข่แดง เป็นต้น
ควรรับประทานคู่กับอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ส้ม ฝรั่ง ซึ่งจะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดี หลีกเลี่ยงการรับประทานธาตุเหล็กกับนม ชา กาแฟ แคลเซียม เพราะว่าอาหารเหล่านี้จะไปขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก
3.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโฟเลต ควรได้รับในปริมาณ 400-600 ไมโครกรัมต่อวัน ผักและผลไม้เป็นแหล่งอาหารที่มีโฟเลต เช่น กุ๋ยช่าย มะเขือเทศ ดอกกะหล่ำ แครอท แตงกวา ผักใบเขียว ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น
4.แนะนำให้รับประทานวิตามินเสริมตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ Folic acid 1x1 oral pc, Iodine 1x1 oral pc, Dimen 1x3 oral pc, B6 1x1 oral HS เป็นประจำทุกวัน
5.แนะนำให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง หรือถ้าหากมีอาการผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์
ส่งเสริมความรู้และการปฏิบัติตนในไตรมาสที่ 2
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจของหญิงตั้งครรภ์ในการปฏิบัติตนในไตรมาส 2 โดยการพูดคุย และสอบถามวิธีการดูแลตนเอง
2.ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองและอาการไม่สุขสบายในไตรมาสที่ 2 ดังนี้
อาการหน้ามืด เป็นลม
หญิงตั้งครรภ์ควรรับประทานอาหารให้เพียงพอ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรเปลี่ยนท่าเร็วเกินไป
อาการปวดหลัง เนื่องจากท้องมีขนาดใหญ่มากขึ้น
หญิงตั้งครรภ์ควรใส่รองเท้าส้นเตี้ย ไม่ควรยืนนาน เมื่อมีอาการปวดห้ามนวดกดจุด เพราะการนวดกดจุดเป็นการกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด และถ้าในร่างกายมีลิ่มเลือด ลิ่มเลือดอาจไปอุดตัน และอาจจะส่งผลต่อทารกได้
อาการแสบร้อนยอดอก (Heart burn) เนื่องจากหูรูดกระเพาะอาหารมีการคลายตัว อาหารมีการท้นขึ้นมาที่หลอดอาหารส่วนปลาย เนื่องจากมดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้นทำให้ไปเบียดกระเพาะอาหาร
หญิงตั้งครรภ์ควรรับประทานอาหารในปริมาณที่น้อย แต่ควรรับประทานหลายๆมื้อ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด อาหารมัน อาหารที่มีแก๊สเยอะ เช่น กะหล่ำปี ถั่ว บรอคโคลี หอมใหญ่ เป็นต้น หลังจากรับประทานอาหารเสร็จควรนั่งพัก 30 นาที – 1 ชั่วโมง ไม่ควรนอนทันที เพื่อให้อาหารได้ย่อย หรือรับประทานยาลดกรด
อาการท้องอืด
หญิงตั้งครรภ์ควรเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ไม่รับประทานให้อิ่มจนเกินไป หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแก๊ส เช่น กะหล่ำปี ถั่ว หน่อไม้ บรอคโคลี หอมใหญ่ ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต มันฝรั่ง เป็นต้น
อาการท้องผูก เนื่องจากลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง ฮอร์โมน progesterone ทำให้มีการดูน้ำกลับมากขึ้น
หญิงตั้งครรภ์ควรดื่มน้ำ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน รับประทานอาหารที่มีกากใยเพิ่มขึ้น และไม่ควรใช้ยาระบายหรือยาสวน เพราะจะกระตุ้นให้มดลูกเกิดหารหดรัดตัวได้
อาการเหน็บชา หรือตะคริว เกิดจากการขาดเลือดของกล้ามเนื้อบริเวณนั้น เนื่องจากระบบไหลเวียนเลือดไม่ดี มดลูกมีขนาดใหญ่ไปกดทับ หรือการเปลี่ยนแปลงกรด-ด่างในเลือด
หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรนั่งท่าใดท่านึงเป็นเวลานาน ควรเปลี่ยนท่าบ่อยๆ ขยับบริเวณส่วนปลายบ่อยๆ
เส้นเลือดขอด
หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรนั่งหรือยืนนานๆ หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าที่รัดมากๆ บริหารขา หรือนอนยกขาสูง เพื่อให้เลือดไหวเวียนไปบริเวณนั้นได้ดี
5.แนะนำมารดาให้รับประทานวิตามินเสริมตามแผนการรักษาของแพทย์
-Folic acid 1x1 oral pc
-Iodine 1x1 oral pc
-Dimen 1x3 oral pc
-B6 1x1 oral HS
6.เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย และข้อมูลที่หญิงตั้งครรภ์ไม่ทราบ
3.แนะนำให้ส่งเสริมพัฒนาการของทารกในครรภ์ ในแต่ละด้าน
-ด้านการรับความรู้สึก โดยการลูกสัมผัส หรือสัมผัสกับทารกในครรภ์เป็นจังหวะ โดยการใช้มือตบลงเบาๆบนท้องมารดา หรือสัมผัสกับน้ำอุ่นน้ำเย็น หรือฉีดน้ำบริเวณหน้าท้อง เพื่อให้ทารกเคยชินกับการสัมผัส สงบ อารมณ์ดี มีการพัฒนาเซลล์ประสาท ฝึกไหวพริบ สร้างการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ การปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการเคลื่อนไหว
-ด้านการเคลื่อนไหว เป็นการพัฒนาเซลล์ประสาทการทรงตัว ทำให้เกิดการเรียนรู้มีไหวพริบและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ โดยการให้มารดานั่งเก้าอี้โยกหน้า-หลัง
-ด้านการได้ยิน โดยการใช้เสียงเพื่อกระตุ้นระบบประสาทการได้ยิน โดยให้มารดาพูกคุยกับทารกในครรภ์ การเล่านิทาน เป็นต้น ทำให้ทารกคุ้นเคยกับเสียง เกิดความผูกพันธ์ สมองส่วนการได้ยินมีพัฒนาการที่ดี และทารกมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาหลังคลอด
-ด้านการมองเห็น เป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ เสริมสร้างความอยากรู้อยากเห็นให้กับทารก โดยการส่องไฟฉายที่หน้าท้องเลื่อนจากซ้ายไปขวา หรือการเปิดปิดไฟเป็นจังหวะ ควรทำกิจกรรมขณะทารกดิ้น
4.แนะนำให้นับลูกดิ้นในไตรมาสที่ 28 เพื่อสังเกความผิดปกติของทารกในครรภ์
โดยนับภายใน 1 ชั่วโมงหลังทานอาหาร ถ้าทารกดิ้นได้ 4 ครั้งขึ้นไป ภายใน 1 ชั่วโมงถือว่าปกติ
หากภายใน 1 ชั่วโมง ดิ้นน้อยกว่า 4 ครั้ง ให้นับต่อไปอีกจนครบ 4-6 ชั่วโมง ถ้าดิ้นได้ 4 ครั้งถือว่าปกติ และติดตามการดิ้นหลังมื้ออาหารถัดไป ถ้าดิ้นน้อยกว่า 4 ครั้ง ถือว่าผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
ถ้าทั้งวันทารกดิ้นน้อยกว่า 12 ครั้ง ถือว่าผิดปกติควรรีบไปพบแพทย์
:baby::skin-tone-3: Preterm :baby::skin-tone-3:
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด โดยเจ็บครรภ์คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ หรือการคลอดที่มีอายุครรภ์ ตั้งแต่ 28-37 สัปดาห์
:red_flag: สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
:girl::skin-tone-2: ด้านมารดา
ใช้สารเสพติด
ทำงานหนัก หรือยกของหนัก
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
ภาวะเครียด
ภาวะทุพโภชนาการ
:!: BMI น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
เคยแท้งในไตรมาส 2
อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
มีเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ในอดีต
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีความผิดปกติของมดลูก
มีการติดเชื้อในร่างกายและระบบสืบพันธุ์
:!: มารดาเป็นไวรัสตับอักเสบบี
มีการยืดขยายของมดลูกมาก
ครรภ์แฝด, ครรภ์แฝดน้ำ,น้ำคร่ำมากกว่าปกติ
มีโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, หัวใจ
:baby::skin-tone-3: ด้านทารก
มีการติดเชื้อของทารก
มีความผิดปกติของทารแต่กำเนิด
ทารกมีท่าผิดปกติ
ทารกตายในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ด้านรกและถุงน้ำคร่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การติดเชื้อผ่ารก
หัดเยอรมัน, ซิฟิลิส
รกเกาะต่ำ
ถุงน้ำคร่ำอักเสบ
:star: อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อย คล้ายปวดประจำเดือน
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดหลัง ร้าวไปเอวและขา
มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดถ่วงบริเวณช่องคลอด
ลูกดิ้นน้อยกว่าปกติ
:pencil2: การวินิจฉัย
ปากมดลูกเป็นอย่างน้อย 1 ซม.
ปากมดลูกบางตัวอย่างน้อย 80%
มีการดรัดตัวของมดลูก อย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 60 นาที
:warning: ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก
กลุ่มอาการหายใจลำบาก
เลือดออกในสมอง
ตาบอดหรือการมองเห็นผิดปกติ
ลำไส้เกิดเนื้อตาย
Patent Ductus Asteriosus
การติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนระยะยาว
ปัญญาอ่อน
สติปัญญาไม่ดี
ความผิดปกติระบบประสาท
พัฒนาการช้า
ผลกระทบในระยะหลังคลอด
ตัวเหลือง
โลหิตจาง
ปอดบวม
โรคหัวใจ
ผลต่อมารดา
ผลกระทบด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษกิจ
เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
สูญเสียรายได้
วิตกกังวลเกี่ยวกับบุตร
:check: การรักษา
เกณฑ์ตัดสินใจยับยั้งการคลอด
GA 20 สัปดาห์ขึ้นไป แต่น้อยกว่า 34 สัปดาห์
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น infection, PIH
Effacement < 50% และ dilation < 4 cms
ไม่มีข้อห้ามให้ยายับยั้งการคลอด
มดลูกหดรัดตัวอย่างน้อย 1 ตรั้ง ใน 10 นาที
นาน 30 วินาทีขึ้นไป
ไม่มีภาวะ fetal distress
ข้อห้ามการใช้ยายับยั้งการคลอด
Relative contraindication
PIH
Intrauterine growth restriction (IUGR)
Bleeding per vagina
Absolute contraindication
Fetal anomalies
Chorioamnionitis
Dead fetus in utero (DFIU)
ทารกที่ต้องคลอดฉุกเฉิน
การยับยั้งการคลอด
รักษาโดยใช้ยา
ยากระตุ้นปอดเด็ก
Corticosteroid
ใช้ในกรณีไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้สำเสร็จ
ลดภาวะแทรกซ้อนของทารก โดยเฉพาะ RDS
ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (Tocolytic agents)
Beta-adrenergic agonist
Ritodrine hydrochloride (yutopar)
Terbutaline (bricanyl)
ลดแคลเซียมและระงับการหดรัดตัวของมดลูก
Salbutamol (ventolin)
Magnesium sulfate
Prostaglandin inhibitor (Indomethacin)
Calcium channel blocker
Nifedipine (adalat)
การรักษาทั่วไป
ให้สารน้ำ
Bed rest
แนวทางการรักษา
อายุครรภ์ 24-33+6 wks
ให้ Tocolytic drugs ถ้าไม่มีข้อห้าม ให้จนกว่าจะได้รับ Dexamethasone ครบ 4 dose
ยับยั้งสำเร็จ
กลับบ้านได้ / แพทย์ดูแลใกล้ชิด
ให้ Dexamethasone 2 mg IM q 12 hr 4 dose
ยับยั้งไม่สำเร็จ
แจ้งแพทย์ หยุดยา Tocolytic drugs ให้ ampicilin 2 mg iv q 2 hr
อายุครรภ์ มากกว่าหรือเท่ากับ 34 wks
ปล่อยคลอดตามธรรมชาติ
ให้ ampicilin 2 gm iv q 6 hr ตั้งแต่เข้าระยะ active
ไม่ให้ Corticosteroid
แจ้งให้แพทย์ทราบ
ไม่ให้ Tocolytic drugs
:girl::skin-tone-2: Hepatitis B
:warning: ผลกระทบ
ทารก
IUGR
Stillbirth
มารดา
แท้งบุตร
:pencil2: การวินิจฉัย
ผลทดสอบน้ำเหลืองหาแอนติเจนหรือแอนติบอดี้ต่อไวรัส
HBsAg, anti-HBs, anti-HBc, HBeAg และ anti-HBe
:!: ผลตรวจเลือด HBsAg positive,
HBeAg positive
สังเกตของอาการและอาการแสดง
ถ้าพบ HBsAg วินิจฉัยเป็นไวรัสตับอักเสบ
ถ้าพบ HBsAg ร่วมกับ HBeAg มีโอกาสแพร่เชื้อไปสู่คนอื่นรวมทั้งทารกได้
การตรวจพบเชื้อ HBsAg ในน้ำเหลืองของสตรีตั้งครรภ์ โดยสามารถติดต่อผ่านทางรก การสัมผัสและการกลืนสารคัดหลั่งในระยะคลอด และน้ำนมแม่ที่มีหัวนมแตก
:star: อาการและอาการแสดง
มีไข้
อ่อนเพลีย
ตา ตัวเหลือง
ปวดท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
:check: แนวทางการรักษา
สำหรับมารดาที่ไม่ได้อยู่ในระยะเฉียบพลันของโรค ไม่มีความจำเป็นต้องแยกจากผู้ป่วย แต่ต้องป้องกันการปนเปื้อนเลือด หรือน้ำคาวปลา
ไม่จำเป็นต้องงดให้นมบุตร
การช่วยเหลือในระยะคลอด พยายามดูดเมือกและเลือดออกจากปากและจมูกทารกออกให้มากที่สุด
ให้ภูมิคุ้มกันแก่ทารก
Passive immunization คือ การให้ภูมิคุ้มกันที่ได้ผลทันที
Hepatitis B immunoglobin (HBIG) ฉีดภายใน 12 ชม.แรก
Active immunization คือการฉีดวัคซีนไปกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อการติดเชื้อ
H-B-VAX, Engerix-B เป็นต้น จากนั้นให้ห่างกัน 1 เดือน และ 6 เดือน
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ว่าเป็นพาหะเรื้อรัง(มี HBsAg)หรือไม่ ถ้าเป็น ป้องกันการเกิดเชื้อไปยังทารกด้วยการให้ Hepatitis B immunoglobin
การตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบี้สำหรับสมาชิกในครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์ และการให้วัคซีนป้องกัน ดังนี้
ในเด็ก อายุ 6-15 ปี ควรคัดกรองเพื่อรับวัคซีน
ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 6 ปี ให้ฉีดวัคซีนได้เลย โดยไม่จำเป็นต้องตรวจคัดกรอง
ผู้ใหญ่ทุกรายในครอบครัวตรวจคัดกรอง เพื่อรับวัคซีน
:girl::skin-tone-2: Urinary tract infection (UTI)
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
กายวิภาค
ระบบทางเดินปัสสาวะ คั้งแต่กรวยไตถึงท่อไตขยายใหญ่ขึ้น เนื่องจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่ท่อไตคลายตัว ยืดขยายได้งาย กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะคลายตัว ร่วมกับการถูกกดทับจากมดลูกที่โตขึ้น ทำให้มีการคั่งของปัสสาวะนาน และมีเชื้อย้อนกลับเข้าสู่ไต เกิดภาวะ pyelonephritis โดยการเปลี่ยนแลปงนี้จะกลับเป็นปกติภายใน 6-8 สัปดาห์
หน้าที่
ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงไตเพิ่มมากขึน อัตราการกรองของพลาสมาที่ไตเพิ่มขึ้น ทำให่ค่า BUN, Creatinine ในเลือดลดลง ปริมาณโปรตีนจะเปลี่ยนแปลงไม่มาก พบได้ 60-80 mg/day ในไตรมาสแรก และ 69-115 mg/day ในไตรมาสสองและสาม
:warning: ระดับความรุนแรง
2.กระเพาะปัสสาวะอักเสบเฉียบพลัน (Acute Cystitis)
มักพบในไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์
มีอาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะกะปริบกะปรอย
:!: มารดามีปัสสาวะแสบขัด
3.กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pyelonephrititis)
ร้อยละ 30 ของการตรวจ พบแบคทีเรียในปัสสาวะโดยไม่มีอาการ ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะกลายเป็นกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน มักพบในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
มีอาการ ไข้ หรือไข้สูงจนถึงหนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดหลัง และกดเจ็บบริเวณหลัง
1.ตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะ โดยไม่มีอาการ (Asmp-tomatic bacteriure : ABU)
พบได้ประมาณร้อยละ 5-6 ในหญิงตั้งครรภ์ เป็นที่มาของความจำเป็นในการตรวจปัสสาวะในการฝากครรภ์ครั้งแรก เพื่อค้นหาความผิดปกติและให้การรักษาก่อนที่จะพัฒนาเป็นการติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ และการติดเชื้อที่กรวยไต
สีปัสสาวะเปลี่ยนไป จากสีเหลืองใส กลยเป็น สีเหลืองขุ่น หรือสีส้มแดงคล้ายเลือด
:warning: ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางเพิ่มสูงกว่าปกติ
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
:pencil2: การป้องกัน
การขับถ่ายปัสสาวะ ให้ขับถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งในแต่ละวัน หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะ เมื่อรู้สึกปวดปัสสาวะให้รีบปัสสาวะทันที เพื่อช่วยขับเชื้อแบคทีเรียออก
ควรทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังขับถ่ายทุกครั้ง โดยเช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลัง และควรซับให้แห้งทุกครั้ง
การดื่มน้ำให้มากขึ้น ประมาณ 2-3 ลิตรต่อวัน
หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้ารัดรูป และการสวมถุงน่องเป็นเวลานาน แนะนำให้สวมกางเกงที่ระบายอากาศได้ดี หลีกเลี่ยงการนั่งไขวห้าง เพราะการกระทำเหล่านี้มักจะทำให้ผิวหนังเสียดสีกับ บริเวณช่องคลอดและส่วนอื่นของร่างกาย อาจนำเนื้อเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ท่อปัสสาวะได้
การดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง รับประทานอาหารที่สารอาหารครบถ้วน นอนหลับเพียงพอ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ จะทำให้ร่างกายแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันแข็งแรง สามารถหลีกเลี่ยงการติดเชื้อได้
:check: การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ(Antibiotics) ควรรับประทานตามแพทย์สั่งจนครบ หากรับประทานยาไม่ครบตามแพทย์สั่งจะเกิดการดื้อยา และอาจเกิดการกลับเป็นซ้ำ ซึ่งจะมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น
รักษาภาวะขาดน้ำ(dehydration) และภาวะขาดสมดุลเกลือแร่ โดยให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เกลือแร่ หรือยาต่างๆ ตามผลตรวจระดับอิเล็กโตรไลท์ในเลือด
บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดบั้นเอว ปวดท้อง โดยให้ยาแก้ปวด และ รักษาอาการไข้ด้วย ยาลดไข้
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อ และตรวจหาความไวของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ