Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว (6.ผลกระทบจากการสูยเสียความส…
ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว
6.ผลกระทบจากการสูยเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบทางเดินอาหาร
ให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
ลดหรือเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลข้างเคียงทำให้ท้องผูก
กระตุ้นผู้สูงอายุขับถ่ายเป็นเวลา
กระตุ้นผู้สูงอายุให้เริ่มทำกิจกรรมร่างกายและยืนเดิน
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พิจารณยาถ่ายเมื่อจำเป็นและด้วยความระมัดระวัง
7.ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบประสาท
กระตุ้นผู้สุงอายุให้ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
นันทนาการบำบัดสำหรับผู้สูงอายุ
กระตุ้นให้มีส่วนร่วมกับครอบครัวเพื่อนฟูงการเข้าสังคม
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่างกาย กิจวัตรประจำวัน /ฝึกการเคลื่อนไหวอย่างสม่ำเสมอ
5.ผลกระทบจากการสูยเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
พยายามจัดท่าให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนในขณะถ่ายปัสสาวะ
สวนปัสสาวะเป็นระยะ ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะไม่สุด
เมื่อตรวจพบผู้ป่วยมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
4.ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบหายใจ
กระตุ้นการทำกิจกรรมการยืนเดิน
เปลี่ยนท่า นอน/นั่ง
2.ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว
2.1.ประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลง
2.2.Posturat Hypotension
2.3.ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน
การป้องกันและดูแลภาวะถดถอยของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะที่หัวใจมีประสิทธิภาพการทำงานลดลง
1.ออกกำลังกายในท่านั่งหรือยืน
2.การใช้เครื่องมือกระตุ้นให้เกิดเลือดในหลอดเลือดดำไปในกองในส่วนขา
ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน
1.ออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา
2.การใ้ชผ้ายืดพันขาผู้ป่วยเป็นระยะ
3.การใช้เครื่องลดบวมบีบไล่สารน้ำที่ขา
4.ยกขาสูงเล็กน้อยขณะนอนราบ
5.ให้ยา
ภาวะความดันลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
ออกกำลังกาย
การใช้ผ้ายืดประคองขอทั้งวองข้าง
การใช้เตียงที่สามารถปรับระดับได้
การใช้ยากลุ่ม
3.ผลกระทบจากการสูยเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบบผิวหนัง
เปลี่ยนท่า จัดท่าอย่างเหมาะสม
รับสารอาหารที่เพียงพอ
พิจารณาใช้ที่นอนและเบาะรอง
ถ้าไม่มีแผลกดทับ
ทำแบบ moist wound care
การใช้ hydrocolloid dressing:
1.ผลกระทบจากการสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวต่อระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
4 อย่าง
1.2.ข้อยึดติด
1.3.กระดูกบางหรือพรุน
1.1.กล้ามเนื้อฝ่าลีบและอ่อนแรง
1.4.ข้อเสื่อม
การป้องกันการเกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและข้อยึดติด
1.ท่านอนที่เหมาะสม
2.ฝึกการเคลื่อนไหวตนเอง /เดิน
3.ออกกำลังกาย 10-15 นาที/3 สป.
4.ฝึกออกกำลังกายเพื่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การดูแลรักษา
ข้อยึดติดจากกล้ามเนื้อหดรั้งในระยะเริ่มต้น
ออกกำลังาย 20 -30 นาที ยืดค้างในช่วงท้ายองศา
ให้ความร้อน/ใช้เครื่องมือทางกายภาพบำบัด
ข้อยึดติดขากกล้ามเนื้อหดรั้งที่เป็นมานานหรือยึดติดมมาก
ใส่เผือก
ออกกำลังกายยืดกล้ามเนื้อและข้อ ร่วมกับอัลตราซาวด์
การป้องกันและรักษาภาวะข้อยึดจากเนื้อเยื่อรอบข้อและจากข้อต่อ
1.การจัดท่าที่ข้อเหยียดออกมาได้
2.เพิ่มการเคลื่อนไหว
3.การใช้อุปกรณ์
การป้องกันและรักษาภาวะกระดูกพรุนและกระดูกบาง
ออกกำลังกายเพื่อความแข็งแรง
ออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก
ใช้แรงกระแทรกต่ำๆ
สม่ำเสมอ
บทที่ 4กลุ่มอาการที่เกิดจากการ
สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว
1.ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมนั่งๆนอนๆไม่ออกกำลังกาย
2.ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพาแต่ขาดผู้ดูแล
3.ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย
4.ผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดและ/ใส่เผือก/อุบัติหเหตุ/กระดูก
5.ผู้สูงอาุที่มีการอ่อนแรง