Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sepsis ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (การพยาบาล (1.ประเมินอาการติดเชื้อในร่างก…
Sepsis
ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
หมายถึง การติดเชื้อที่เกิดขึ้นในเดือนแรกของชีวิต
ซึ่งทารกอาจได้รับการติดเชื้อตั้งแต่ระยะที่อยู่ในครรภ์มารดา(intrauterine) ระหว่างการคลอด(intrapartum) หรือระยะแรกหลังคลอด(postnatal)
อาการ
ระบบประสาท
ซึม เคลื่อนไหวน้อยลง
ลักษณะไม่ปกติ (not looking well)
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว
หายใจหน้าอกบุ๋ม
มีเสียงร้องครางเวลาหายใจออก (Grunting)
การควบคุมอุณหภูมิกาย
มีไข้ อุณหภูมิกายต่ำ
ระบบเมตาบอลิสซึม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
เลือดเป็นกรด
ระบบโลหิตวิทยา
มีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง (Petechiae)
ระบบไหลเวียนโลหิต
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 180 ครั้งต่อนาที
ระบบทางเดินอาหาร
ไม่ดูดนมหรือดูดนมน้อยลง
การพยาบาล
1.ประเมินอาการติดเชื้อในร่างกาย ได้แก่ ซึมหรือร้องกวน กระสับกระส่าย
ท้องอืด ไม่ดูดนม ตาเเฉะ สะดือบวมแดง มีผื่นตามผิวหนังหรือไม่
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
เพื่อประเมินการช่วยเหลือทารกได้ทันท่วงที
3.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
เพื่อลดการปนเปื้อนและการแพร่กระจายเชื้อโรค
4.ให้การพยาบาลโดยยึดหลักสะอาดปราศจากเชื้อ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนและการติดเชื้อในร่างกายเพิ่ม
ดูแลทำความสะอาดร่างกายทารก ดูแลเปลี่ยนผ้าและที่นอน รวมทั้งสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวทารกให้สะอาดอยู่เสมอ
เช็ดตาด้วย NSS เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ตา
และเช็ดสะดือด้วย 70% Alcohol เช้า-เย็น
เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่สะดือ
7.ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะถูกต้องและครบถ้วน
ตามแผนการรักษาเพื่อการรักษาที่ได้ผลอย่างเต็มที่
และระมัดระวังอาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการได้รับยา
8.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อประเมินผลการรักษา
การักษา
1.การรักษาแบบเฉพาะ
ให้ยาปฏิชีวนะทันทีหลังจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และการเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อ
2.การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการ
ถ้าทารกมีอาการหอบให้ออกซิเจน ให้สารน้ำทางหลอดเลือด
หรือแก้ไขปัญหาสภาวะกรด-ด่าง ให้อยู่ระดับปกติ
3.แก้ไขระวังภาวะแทรกซ้อน
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วไปในหลอดเลือด (DIC)
สาเหตุ
2.การสูดสำลักน้ำคร่ำที่มีการติดเชื้อ
ในมารดาที่ถุงน้ำคร่ำแตกนานเกิน 24ชั่วโมง หรือมีการติดเชื้อในน้ำคร่ำ (Chorioamnionitis)
3.การติดเชื้อระหว่างคลอด
ขณะที่ทารกคลอดจะสัมผัสกับเชื้อในช่องคลอด ทารกอาจได้รับเชื้อในระยะนี้ได้
4.การติดเชื้อหลังคลอด
ทารกอาจได้รับเชื้อจากห้องคลอด
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด ทารกที่ต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นเวลานาน
และได้รับการทำหัตถกรรมต่างๆ
1.ผ่านทางรก
ถ้ามารดามีการติดเชื้อ เชื้อนั้นอาจผ่านรกไปสู่ทารก ทำให้เกิดการติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์เรียกว่า การติดเชื้อตั้งเเต่กำเนิด (Congenital infection)
พยาธิสภาพ
เมื่อทารกเกิดการติดเชื้ออาจเกิดอาการเฉพาะที่ในระยะแรก
และลุกลามไปทั่วร่างกาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั่วร่างกาย การทำงานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว โดยเฉพาะการไหลเวียนโลหิตและกระบวนการเมตาบอลิซึม ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติได้รับเชื้อตั้งแต่ก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอด
รวมทั้งประวัติการเจ็บป่วย
2.การตรวจร่างกายอย่างละเอียด
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยการตรวจหาเชื้อโรคในกระเเสเลือด
3.2 เพาะเชื้อจาก จมูก ลำคอ สะดือ อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด น้ำไขสันหลัง
3.1 Complete Blood Count จำนวนเม็ดเลือดขาวต่ำกว่า 2,500 cell/mm3
3.3 ย้อมสีกรัม จากน้ำไขสันหลังและหนองจากบริเวณที่อักเสบ