Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (นาย วีรยุทธ สิมลี เอกเดี่ยว 2/1 เลขที่ 25)…
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(นาย วีรยุทธ สิมลี เอกเดี่ยว 2/1 เลขที่ 25)
การเขียนเรียงความ
1.1 การเขียนเรียงความหมายถึง การเขียนที่เป็นเเบบเเผนมีข้อกำหนดโดยเรียงลำดับความเป็นร้อยเเก้วให้มีเรื่องราวที่น่าสนใจ
1.2 รูปเเบบของความเรียง
คำนำ คือ เป็นการเขียนเกริ่นนำเข้าสู่ประเด็นสำคัญ
เนื้อเรื่อง สาระสำคัญของเรื่องที่ผู้เขียนต้องเเสดงความรู้
สรุป เป็นการเขียนขมวดเรื่องให้จบบริบูรณ์
1.3 ความงามของเรียงความ
งามด้วยรูป มีการวางรูปเเบบความสั้นยาวของความเรียงที่ต้องการเขียน
งามด้วยความ รู้จักสรรหาความรู้ที่นำมาเขียน
งามด้วยท่วงทำนองเขียน ผู้เขียนจำเป็นต้องพิถีพิถันในการเลือกสรรถ้อยคำที่เหมาะสม
1.4 หลักการเขียนเรียงความ
ต้องเขียนให้ครบองค์ประกอบทั้ง 3
ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย
ต้องเขียนให้เป็นระเบียบ
ควรใช้ภาษาระดับทางการหรือกึ่งทางการ
การใช้ตัวย่อต้องใช้ที่เข้าใจกันทั่วไป
การใช้คำศัพท์บัญญัติต้องใช้คำที่เป็นที่ยอมรับจากบุคคลทั่วไป
ควรใช้คำที่กะทัดรัด ไม่ใช้คำกำกวม
1.5 การเขียนโครงเรื่อง
คือการจัดระเบียบข้อมูล การจัดหมวดหมู่ของหัวเรื่องให้เป็นระบบมีความต่อเนื่องกัน
1.6 การใช้ภาษาในการเรียงความ
การใช้ภาษาไทยในการเรียงความมีสิ่งที่ควรปฏิบัติในการเขียน 2 ประการ คือ การใช้คำ เเละการเเต่งประโยคให้ถูกต้อง
การจดบันทึก
1.1 ความหมายของการจดบันทึก
การจดบันทึกคือ องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการศึกษาหาความรู้ตามหลักหัวใจของนักปราชญ์
1.2 ประเภทของการจดบันทึก มี4ประเภท
บันทึกเพื่อช่วยความจำ
บันทึกประสบการณ์
บันทึกความรู้
บันทึกการประชุม
การเขียนย่อความ
1.1 การเขียนย่อความหมายถึง การเก็บเนื้อเรื่องที่สำคัญของเรื่องที่อ่านได้ถูกต้องครบบริบูรณ์มาเรียงใหม่โดยใช้ภาษาอย่างสั้น กะทัดรัด
1.2 ชนิกการย่อความ
การย่อความจากร้อยเเก้ว
การย่อความจากร้อยกรอง (ต้องถอดความเป็นร้อยเเก้วก่อน)
การย่อความจากเรื่องต่างๆเป็นเรื่องที่ได้ยินได้ฟัง
1.3 ส่วนประกอบของการเขียน
ข้อความเนื้อหาหลัก เป็นใจความที่สำคัญที่สุดของเรื่อง
ข้อความที่เป็นใจความรอง เป็นส่วนที่ช่วยขยายใจความสำคัญ
1.4 หลักการย่อความ
ฟังหรืออ่านข้อความทั้งหมด
วิเคราะห์องค์ประกอบของเรื่อง
ทำความเข้าใจความหมายของเเต่ละประเด็น
จับใจความสำคัญของเเต่ละประเด็น
เรียบเรียงข้อความที่จับประเด็น
ทบทวนใจความสำคัญในบทย่อว่าครบหรือไม่
ต้องเขียนขึ้นต้นย่อความตามเเบบการย่อความ
การเขียนรายงาน
1.1 การเขียนรายงานหมายถึง การนำเสนอข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็นจากสภาพทั่วไปการปฏิบัติงาน การประชุม โดยจัดระเบียบรวบรวมการนำเสนอที่สมบูรณ์
1.2 รูปเเบบการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานพอสังเขป คือ การเสนอผลงานทางวิชาการ เพื่อการศึกษาค้นคว้า โดยเขียนรายงานด้วยลายมือ
การเขียนรายงานเต็มรูปเเบบ คือ การเขียนรายงานเชิงวิชาการจากการศึกษาค้นคว้า เพื่อรายงานตามที่ผู้สอนมอบหมาย
1.3 ส่วนประกอบของรายงาน
ส่วนหน้าประกอบด้วย ปกนอก ในรองปก ปกใน คำนำ สารบัญ
ส่วนเนื้อหา บทนำ เนื้อหาสาระ
ส่วนท้าย หน้าอ้างอิง บรรณานุกรรม ภาคผนวก อภิธานศัพท์ ดรรชนี บรรณานุกรมของภาคผนาก
1.4 วิธีเขียนเชิงอรรถ
เขียนไว้ล่วงหน้าของหน้ากระดาษ
บรรทัดเเรกเขียนย่อหน้าประมาณ 8-12 ตัวอักษร
หมายเลขสามารถเรียงได้หลายวิธี เเต่ต้องเลืกใช้วิธีเดียว
ผู้เเต่งเรียงลำดับชื่อ-นามสกุล
เขียนตามลำดับตัวอักษรเเบบพจนานุกรม
ชื่อเรื่องให้ขีดเส้นใต้หรือพิมพ์ตัวดำ
สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ให้ใส่เครื่องหมายวงเล็บ
เลขหน้าให้ระบุเฉพาะหน้าที่อ้างอิง
การอ้างซ้ำโดยไม่มีเอกสารอื่นมาอ้างคั่น ให้เขียนว่าเรื่องเดียวกัน
อ้างเรื่องเดียวกันเเต่มีเรื่องอื่นมาคั่น ให้ลงชื่อผู้เเต่ง
ส่วนสรุปเป็นการสรุปผลการศึกษา การทดลอง การวิเคราะห์