Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สาธารณภัย FBB2680F4455161950EA941678A25F76 (ระยะที่ 3 ระยะหลังเกิดภัย…
สาธารณภัย
สาธารณภัย ประเภทที่ 1
สาธารณภัยทางธรรมชาติ (Biological disaster)
การระบาดของ COVID-19
โรคสันนิษฐานว่าเกิดจาก ค้างคาว
ระยะที่ 1 ระยะก่อนเกิดภัย (Pre-impact phase)
บทบาทของพยาบาล
เตรียมความพร้อมของบุคคล
ประเมินสถานการณ์ COVID-19
ความรุนแรงการระบาด
อัตราการรักษาหาย
อัตรราการเสียชีวิต
วางแผนเตรียมรับสถานการณ์
ติดตามข่าวสาร COVID-19 ตลอดเวลา
ข่าวสารจาก WHO
ข่าวสารจากกระทรวงสาธารณสุข !
ติดตามข้อมูลการรักษา COVID-19
เตรียมความพร้อมของอุกรณ์
อุปกรณ์การป้องกัน
ชุด PPE
หน้ากากอนามัย
Face shield
อุปกรณ์การช่วยเหลือผู้ป่วย
เครื่องช่วยหายใจ
สถานที่ หรือห้องกักตัว
เตรียมความพร้อมของชุมชน
ให้ความรู้แก่ประชาชน
การแพร่ของเชื้อติดต่อได้จากสิ่งคัดหลั่ง
น้ำมูก
น้ำลาย
ดื่มน้ำแก้วเดียวกัน
จาม
ไอ
เลือด
การป้องกัน
สวมหน้ากากอนามัย
Social distancing
การล้างมือ 7 ขั้นตอน
ระยะที่ 2 ระยะเกิดภัย (Impact phase)
ประเมินสถานการณ์ COVID-19 ในไทย
ดูแนวโน้มการติดเชื้อ
ประเมินสถานการณ์เสี่ยง ที่อาจทำให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์
เลือกใช้แผนการตามที่ได้เตรียมไว้
การปฏิบัติการพยาบาล
คัดกรองผู่ป่วย
อุหภูมิตั้งแต่ 37.5 ํC ขึ้นไป ร่วมกับอาการทางระบบหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
เจ็บคอ
น้ำมูก
ไอแห้ง
หายใจเร็ว
หายใจลำบาก
หายใจเหนื่อย
มีประวัติเดินทางไปยัง หรือมาจากพื้นที่ที่เกิดโรคระบาดของ COVID-19 อย่างต่อเนื่อง
เป็นผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับนักท่องเที่ยว สถานที่แออัด หรือติดต่อกับคนจำนวนมาก
สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยัน หรือสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยสงสัย หรือยืนยัน โดยไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกัน
มีประวัติไปนสถานที่ชุมขน หรือรวมกลุ่ม เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า สถานพยาบาล ขนส่งสาธารณะ
เฝ้าระวังในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่มีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
ผู้ป่วยปอดอักเสบหาสาเหตุไม่ได้ แล้วอาการไม่ดีขึ้นใน 48-72 ชั่วโมง
ผู้ป่วยโรคปอดอักกเสบ ลักษณะเข้ากับ COVID-19
ใกล้ชิดกับผู้ป่วย COVID-19
การดูแลผู้ป่วยเข้าเกณฑ์
การป้องกันตนเอง
:check: กรณีทั่วไป : droplet +contact precautions (กาวน์ ถุงมือ หน้ากากอนามย face shield)
:check: หากมีการทำ aerosol generating procedure เช่น การเก็บตัวอย่าง nasopharyngeal swab ให้สวมชุดแบบ airborne+contact precautions (ชุด PPE ถุงมือ หน้ากากชนิด N95 แว่นป้องกัน face shield และหมวกคลุมผม )
ให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย รอฟังผลในบริเวณที่กำหนด หรือรอผลที่บ้าน หากมีข้อบ่งชี้ให้รับเป็นผู้ป่วยในแล้วแยกห้อง (isolation room)
การประสานงานเพื่อช่วยเหลือ และส่งต่อไปยังโรงพยาบาลที่มีความพร้อม
จัดทำทะเบียนบันทึกเหตุการณ์ และรายงานแก่กรมควบคุมโรค
ระยะที่ 3 ระยะหลังเกิดภัย (Post-Impact Phase)
การประเมินสถานการณ์หลัง เกิดสาธารณภัย เพื่อรวบรวมข้อมลูความเสียหาย
อัตตราการเสียชีวิตจาก COVID-19
การใช้งบประมาณ
การสูญเสียบุคลาการทางการแพทย์
การปฏิบัติการพยาบาล เน้นการดูแลการรักษาพยาบาลใน รายที่เจ็บป่วย การดูแลที่ต่อเนื่องเมื่อเกิดความพิการโดยไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ
การจัดทำบันทึกรายงาน รวมถึงการจัดทำบญัชีรายชื่อผู้ป่วยโรค COVID-19 ชนิดของการเจ็บป่วยต่างๆ และสาเหตุการเสียชีวิต
การประสานงานกับแหล่ง สนับสนุน เพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง การฟื้นฟูสภาพ
การประเมินผลการ ปฏิบัติการในสถานการณส์า ธารณภยัที่เกิดขึ้น