Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal care : ANC (ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ (หญิงตั้งครรภ์อายุ 30 ปี, G3P2-0…
Antenatal care : ANC
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การตรวจครรภ์ : วันที่ 25 ตุลาคม 2562
การตรวจด้วยวิธี Leopoldo maneuver ได้ดังนี้
-1/4 > Umbilical
-Breech Presentation
FHS ปกติดี
การดิ้นของทารกปกติดี
ประวัติการตั้งครรภ์ :
G1 วันที่ 24 สิงหาคม 2557 อายุครรภ์ FT วิธีการคลอด C/S เพศชาย น้ำหนัก 3250 กรัม คลอดที่โรงพยาบาลเปาโล ทารกเเข็งเเรงดี
G2 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 อายุครรภ์ FT วิธีการคลอด C/S เพศชาย น้ำหนัก 3025 กรัม คลอดที่โรงพยาบาลเปาโล ทารกเเข็งเเรงดี
น้ำหนักเเละส่วนสูง : น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 44 kg. ส่วนสูง 165 cm. BMI 16.16 kg/m^2 (น้อยกว่าเกณฑ์มาตราฐาน 18.5 - 24.9 kg/m^2)
น้ำหนักขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 7 kg. (BMI < 18.5kg/m2 (underweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 12.5-18 kg.ไตรมาสแรก 0.5-2 kg., ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
ประวัติการผ่าตัด : ปี 2557,2561 ผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
วันที่ 25 ตุลาคม 2562
Vital signs : ความดันโลหิต 99/58 mmHg ชีพจร 91 ครั้ง/นาที
การตรวจร่างกายตามระบบ :
-ศีรษะ : ปกติ ไม่มีบาดแผลบนหนังศีรษะ
-ตา: เยื่อบุตาไม่ซีด ตาทั้งสองข้างปกติ
-จมูก: ปกติ ไม่มีก้อนอุดตัน
-ช่องปากและฟัน: ไม่มีฟันผุ เเละไม่มีเเผลในช่องปาก
-คอและต่อมไทรอยด์: ปกติคลำไม่พบก้อน
-เต้านม: ปกติ หัวนมไม่สั้น ไม่บอด คลำไม่พบก้อน
-ลานนม: ปกติ
-แขนและขา: สมมาตรทั้ง 2 ข้างไม่บวม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :
วันที่ 25 ตุลาคม 2562
Hb 11.5 g/dL ต่ำ (ไม่ <11 g/dL)
Hct 35 % ต่ำ (ไม่<33%)
VDRL Non-reactive
HIV Ab Negative
HBsAg Negative
HBeAg -
ABO gr A
Rh Positive
Ab screening Negative
การตรวจน้ำตาล :
วันที่ 25 ตุลาคม 2562
BS 50 gm 150 สูง
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562
OGTT 82 125 84 88
วันที่ 20 มีนาคม 2563
OGTT 105 200 140 150 สูง
-
การตรวจปัสสาวะ :
วันที่ 25 ตุลาคม 2562
Ketone Negative
Glucose Negative
Albumin Negative
R.B.C Not Found
W.B.C 0-1/HPF
-
Problem list
-
-
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 44 kg. ส่วนสูง 165 cm. BMI 16.16 kg/m^2 น้อยกว่าเกณฑ์มาตราฐาน
เเละมีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ 7 kg. น้อยกว่าเกณฑ์
ส่งเสิรมโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์เนื่องจากดัชนีมวลกายน้อยเเละการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์น้อยกว่าปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
-
OD: -มารดามีค่าดัชนีมวลกาย 16.16 kg/m^2 (ปกติ 18.5-24.5 kg/m^2)
-การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักมารดาตลอดการตั้งครรภ์ 7 kg. (ปกติ 12.5-18 kg.)
-
เกณฑ์การประเมิน
-
-
- มารดาบันทึกเเบบประเมินโภชนาการ Vallop curve ในสมุดฝากครรภ์
กิจกรรมการพยาบาล
- เเนะนำให้มารดารับประทานอาหารเพื่อเสริมสร้างเเละการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ดังนี้
โปรตีน สร้างเซลล์และอวัยวะทั้งของทารกและของมารดา เช่น การขยายตัวของผนังมดลูกการสร้างรากและสายสะดือจึงควรได้รับโปรตีนเพิ่มขึ้นจากก่อนตั้งครรภ์โปรตีนได้จากเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วต่างๆ เต้าหูน้ำเต้าหู้
แคลเซียม ช่วยการพัฒนาระบบประสาทกล้ามเนื้อหัวใจหลอดเลือดอาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมปลาเล็กปลาน้อย ปลาซาร์ดีนกระป๋อง กุ้งฝอยกุ้งแห้ง คะน้า ใบยอ ผักกวางตุ้ง เป็นต้น
เหล็ก เพื่อสร้างเม็ดเลือดแดงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและดูดซึมได้ดีได้แก่ตับเลือดเนื้อสัตว์สีแดงเช่นเนื้อหมูเนื้อวัวเป็นต้นและควรกินร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ฝรั่ง ส้ม มะขามป้อม จะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กได้ดี
ไอโอดีน การขาดไอโอดีนอย่างรุนแรงทำให้เกิดภาวะพร่องThyroid hormone ทารกเกิดความผิดปกติของระดับสติปัญญาการเจริญเติบโตของเซลล์สมองไม่สมบูรณ์และการพัฒนาระบบประสาทและกล้ามเนื้อบกพร่องอาหารที่มีสารไอโอดีนตามธรรมชาติใต้แก่พืชและสัตว์ทะเลปลาทะเล 100 กรัมมีสารไอโอดินประมาณ 25 = 70 ไมโครกรัมสาหร่ายทะเลแห้ง 100 กรัมมีสารไอโอดินประมาณ 200-400 ไมโครกรัม
โฟเลต หากร่างกายได้รับโฟเลตไม่เพียงพอจะทำให้เกิดภาวะโลหิตจางผักและผลไม้ที่เป็นแหล่งอาหารที่ดีของโฟเลศ ได้แก่ ดอกกะหลำดอกและใบกุ้ยช่าย มะเขือเทศ ผักตระกูลกะหล่ำ แตงกวา หน่อไม้ ฝรั่ง แครอท ถั่วฝักยาว ผักใบเขียว องุ่น ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นต้น
วิตามินบี1 (ไฮอะมีน), วิตามินบี2 (ไรโบฟลาวิน), วิตามินบี6 (ไพริดอกซึน), วิตามินบี12และวิตามินซี
2.เเนะนำการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม ให้ครบ 3 มื้อ เพื่อให้ร่างกายได้รับพลังงานอย่างเพียงพอและเพื่อให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ดังนี้
-คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ อาหารจำพวกข้าว และผลิตภัณฑ์จากข้าว แป้ง และน้ำตาล เช่น ขนมจีน ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง ขนมหวานต่างๆ น้ำหวาน น้ำตาล อาหารกลุ่มนี้จะย่อยกลายเป็น น้ำตาล และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้นได้ ควรเลือกรับประทานข้าวซ้อมมือ หรือขนมปังโฮลวีต ซึ่งจะมีใยอาหารมากกว่าข้าวขาว และควรหลีกเลี่ยงข้าวเหนียว เพราะมีพลังงานสูง
-ผัก เป็นแหล่งของวิตามินและเกลือแร่ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผักใบชนิดต่างๆ ผักกาด คะน้า ตำลึง ซึ่งมีใยอาหารและวิตามินมาก สามารถเลือกรับประทานได้มากเท่าที่ต้องการ และผักจำพวกที่เป็นหัวและถั่วต่างๆ แครอท ฟักทอง เผือก มัน ข้าวโพด ถั่วลิสง ซึ่งมีแป้ง และพลังงานมากกว่าผักใบชนิดต่างๆ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงผักหัวและถั่วต่างๆ
-ผลไม้ เป็นแหล่งวิตามิน เกลือแร่ และใยอาหารที่ดี ควรรับประทานผลไม้แทนขนมเป็นประจำทุกวัน และทุกมื้อ ผลไม้ที่รับประทานควรเป็นผลไม้ที่มีน้ำตาลน้อย รสไม่หวานจัด เช่น ฝรั่ง ชมพู่ ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะละกอ แอปเปิ้ล สาลี่ แก้วมังกร พยามยามงดผลไม้ที่มีรถหวานจัด หรือผลไม้ที่มีน้ำตาลมาก เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย ขนุน น้อยหน่า ละมุด หลีกเลี่ยงน้ำผลไม่ทุกชนิด รวมถึงน้ำมะพร้าวด้วย
-โปรตีน เป็นอาหารประเภทเนื้อสัตว์ และไข่ โดยเน้นรับประทานเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ และไม่ติดมัน ไม่ติดหนัง เช่น เนื้อปลา เนื้อไก่ หมูเนื้อแดง ไข่ หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูป เช่น ไส้กรอก แฮม เบคอน ลูกชิ้น หลีกเลี่ยงการใช้น้ำมันในการปรุงอาหาร ให้ใช้การต้ม ตุ๋น นึ่ง ลวก อบ ย่าง แทนการผัดและการทอด
-น้ำนม เป็นสารอาหารที่จำป็นสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ควรดื่มนมสดชนิดจืด และพร่องมันเนย หรือนมสดขาดมันเนย เพื่อหลีกเลี่ยงไขมันในนมและไม่ควรดื่มนมปรุงแต่งหรือน้ำนมแปลงรูป นมหวาน นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เนื่องจากอาจจะมีการเติมน้ำตาล หรือผลไม้เชื่อม
-ไขมัน ควรหลีกเลี่ยงการผัดและการทอด หากจำเป็นควรใช้ไขมันจากพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด หรือน้ำมันรำข้าว ควรหลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง เช่น หมูติดมัน หนังไก่ หนังเป็ด และเลี่ยงไขมันจากสัตว์ น้ำมันหมู กะทิ เนย ครีมเทียม
- งดการสูบบุหรี่เเละอยู่ในเขตที่ปลอดบุหรี่เเละหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ยาดองเหล้าทุกชนิดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ
-
- ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม วันละ 30 นาที อย่างน้อย 3-5 ครั้ง/สัปดาห์
- ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ 2-3 ลิตร/วัน
- พักผ่อนให้เพียงพอวันละ6-8 ชั่วโมงเเละไม่ทำงานหนักเกินไป
4.เเนะนำให้มารดาตั้งครรภ์ทำกราฟประเมินโภชนาการ Vallop curve ในสมุดฝากครรภ์ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการและติดตามเเนวโน้มการเปลี่ยนเเปลงของน้ำหนักมารดาขณะตั้งครรภ์
- เมื่อมีอาการผิดปกติควรปรึกษาแพทย์ทันที
- กินยาบำรุงตามเเผนการรักษาของเเพทย์ ได้แก่ Folic acid 1x1 oral pc.,Iodine 1x1 oral pc. ,Caltab 1x1 oral pc.เเละ Nataral 1x1 oral pc. เป็นประจำทุกวันเเละสำหรับยาอื่น ๆ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
เกณฑ์การประเมิน
2.มารดาเข้าใจเเละเลือกรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสมเเละเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายและทารกในครรภ์
-
-
-
-
Notify
Previous C/S
หมายถึง
การผ่าตัดเพื่อคลอดทารกผ่านรอยดำที่หน้าท้องและรอยผ้าที่ผนังมดลูกในช่วงอายุครรภ์ที่ทารกสามารถมีชีวิตรอดได้ซึ่งโดยปกติแล้วแพทย์จะผ่าท้องฟ้าคลอดก็ต่อเมื่อมีเหตุผลทางการแพทย์โดยพิจารณาในรายที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้เองหรือคลอดได้แต่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อมารดาหรือทารก
เหตุผลในการผ่าท้องทำคลอด
-
ทารกในครรภ์มีการขาดออกซิเจนหรือมีความเสี่ยงสูงต่อการขาดออกซิเจนจากการตรวจพบเสียงหัวใจของทารกเต้นผิดปกติและไม่สามารถให้คลอตทางช่องคลอดได้โดยเร็ว
รกเกาะต่ำคือภาวะที่รกเกาะบริเวณปากมดลูกในตำแหน่งที่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกทำให้ขวางทางออกถ้าปล่อยให้คลอดทางช่องคลอดจะทำให้เลือดออกมากจนเป็นอันตรายต่อมารดาและทารก
-
เคยผ่าท้องทำคลอดหรือผ่าตัดก้อนเนื้องอกที่มดลูกมาก่อนการผ่าตัดเหล่านี้จะทำให้เกิดแผลเป็นที่ผนังมดลูกซึ่งเป็นบริเวณที่มีความอ่อนแอถ้าปล้อยให้มีการเจ็บครรภ์คลอดอาจทำให้เกิดการปริหรือแตกบริเวณแผลเป็นที่ผนังมดลูกได้
-
-
เหตุผลอื่นๆ เช่น การติดเชื้อเริมที่อวัยวะสืบพันธุ์ในช่วงระยะใกล้คลอดโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรมหรือสูติกรรมบางกรณีเช่นภาวะครรภ์เป็นพิษชนิดรุนแรงที่จำเป็นต้องให้คลอดโดยเร็ว
-
-
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนในขณะผ่าตัด
1.ภาวะแทรกซ้อนจาการให้ยาระงับความรู้สึกพบประมาณร้อยละ ๑. ๕ เช่น สำลักน้ำหรือเศษอาหารเข้าไปในหลอดลมความดันโลหิตต่ำคือ ซ็อก
2.แผลผ่าตัดที่ตัวมดลูกอาจฉีกขาดไปจนถึงปากมดลูกช่องคลอดหรือเส้นเลือดที่มาเลี้ยงมดลูกพบได้ประมาณร้อยละ ๑-๒ ทำให้เสียเลือดมากในขณะผ่าตัด
-
-
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
-
-
-
-
-
-
7.โอกาสมารดาเสียชีวิตจากการผ่าท้องทำคลอดพบประมาณ 1 รายต่อการผ่าตัด 12,000 ราย
-
ความเสี่ยงในระยะยาว
2.เพิ่มอุบัติการณ์ของรกเกาะต่ำและรกฝังตัวลงลึกในผนังมดลูกในการตั้งครรภ์ครั้งถัดไปโอกาสที่รกจะเกิดการฝังตัวลึกในผนังมดลูกจะมากขึ้นตามจำนวนครั้งของการนำท้องทำคลอดทำให้การตั้งครรภ์ครั้งต่อมามีความเสี่ยงที่จะเกิดการตกเลือดและแพทย์อาจต้องทำการตัดมดลูณพื่อช่วยชีวิต
1.เพิ่มโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดมดลูกแตกในการตั้งครรภ์ครั้งถัดไปพบประมาณร้อยละ 0.2-0.7 โดยมากจะเกิดในเดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์หรือเมื่อมีการเจ็บครรภ์คลอด
-
-
Preterm
ความหมาย
คือภาวะปากมดลูกเปิดที่เป็นผลมาจากการหดและขยายตัวของมดลูกในช่วงก่อนสัปดาห์ที่ 37 ของการตั้งครรภ์ ซึ่งการตั้งครรภ์แบบครบกำหนดคลอดจะใช้เวลา 37-40 สัปดาห์ การคลอดก่อนกำหนดจะส่งผลกระทบต่อทั้งมารดาและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกได้
-
-
-
-
อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์ ไม่ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด หรืออาจยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด แต่ไม่ให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ เพื่อยืดอายุครรภ์ลดภาระของ NICU ให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน GBS ในระยะคลอด
-
-
-
-