Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal care :<3:ANC :<3: GA 37 wks 2 day ทารกดิ้นน้อยลง…
Antenatal care
:<3:
ANC
:<3:
GA 37 wks 2 day ทารกดิ้นน้อยลง จำนวนได้น้อยกว่า 10 ครั้ง/วัน
ข้อมูลส่วนตัว
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 24 ปี G3P1-0-1-1 GA 37 wks 2 day
LMP 17 มิถุนายน 2562 x 4 วัน
EDC by date 23 มีนาคม 2563 GA 9 wks 1 day
U/S วันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 GA 21 wks 2 day
EDC by U/S 5 เมษายน 2563
อาการสำคัญ :warning:
ทารกดิ้นน้อยลง นับจำนวนได้น้อยกว่า 10 ครั้ง/วัน
วัคซีนบาดทะยัก
เข็มที่ 1 : ปี 2557
เข็มที่ 2 : ปี 2557
เข็มที่ 3 : 15 ตุลาคม 2562
ประวัติการแพ้ยา : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วย : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการผ่าตัด : ปี 2557 C/S ทารกเพศหญิง
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 55 kg. ส่วนสูง 156 cm. BMI 22.60 kg/m^2
อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (18.5 - 24.9 kg/m^2 )
:pencil2:
การตรวจ
การตรวจร่างกาย
ศีรษะ : ปกติ ไม่มีบาดแผล
ตา : เยื่อบุตาซีด
ช่องปากและฟัน : ไม่มีฟันผุ
คอและต่อมไทรอยด์ : ปกติ คลำไม่พบก้อน
เต้านม: ปกติคลำไม่พบก้อน
ลานนมและหัวนม : ลานนมปกติ หัวนมไม่บอด แบน บุ๋ม
Vital sign
HR : 89 bpm
BP : 118/68 mmHg
ตรวจครรภ์
การตรวจคลำด้วยวิธี Leopoid maneuver
(GA 35 wks 2 day by U/S )
Vertex presentation
Head flow
3/4 > Umbilical
FHS = 138 bpm
วัดขนาดหน้าท้อง 33 cm.
size = Date
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติ
มารดา
20 สิงหาคม 2562
GA 9 wks 1 day
CBC
Anti HIV : Neg
VDRL : Non reactive
ABO group : B
MCV : 79.0 fL :warning:
Hb typing : Normal Hb typing not rut out alpha - thalassemia
Screening alpha thal : weakly positive
Hb E screen : Negative
PCR alpha thal : Negative
23 สิงหาคม 2562
Rh group : +
Hct : 37.3 %
Hb screening : Negative
Hb : 12.7 g/dL
HBsAg : Neg
Urine analysis
Protein : Negative
Sugar : Negative
18 กุมภาพันธ์ 2563
GA 33 wks 2 day
CBC
Hct : 35.8 %
VDRL : Non reactive
Hb : 11.6 g/dL
Anti HIV : Negative
ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
Hb : >11 g/dL
Hct : > 33 %
สามี
3 กันยายน 2562
MCV : 88.1 fL
Hb E screen : Negative
ผล NST
Notifry
:warning:
previous Preterm
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติคลอดทารกก่อนกำหนด :check:
ส่งผลให้ครรภ์ต่อมามีการคลอดก่อนกำหนดมากขึ้น
มดลูกขยายตัวมากเกินไป
ภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
ครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะเครียด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์จริง
ทำงานหนัก ยกของหนัก บาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ทารกพิการ
สูบบุหรี่และสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
มดลูกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
ภาวะทุพโภชนาการ
การติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
หนองใน
หนองในเทียม
bacterial vaginosis
ครรภ์แรก
ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
โรคประจำตัว
โรคหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
เลือดออกในระหว่างการตั้งครรภ์
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากขณะตั้งครรภ์ท้องจะโตไปกดเบียดกระเพาะปัสสาวะได้ ส่งผลให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ทำให้มีโอกาสเจ็บท้องคลอดก่อนกำหนด
อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ความหมาย
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์
มดลูกมีการหดรัดตัวสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที
หรือ 8 ครั้งใน 60 นาทีร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง
ปากมดลูกเปิดเท่ากับ 1 เซนติเมตรหรือมากกว่า
ปากมดลูกบางตัวลงเท่ากับร้อยละ 80 หรือมากกว่า
:!:
อาการเตือน
ลูกดิ้นน้อยกว่าปกติ
:check:
น้ำไหลออกทางช่องคลอด ลักษณะสีใส กลั้นไม่ได้
มีมูกหรือเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดหลังช่วงล่างร้าวไปบริเวณเอวและขา
เป็นต่อเนื่องหรือเป็น ๆ หาย ๆ แม้จะเปลี่ยนท่าทาง
บวมและความดันโลหิตสูงขึ้น อาจครรภ์เป็นพิษ
เจ็บท้องต่อเนื่องกัน 4 ครั้งใน 20 นาที หรืออาจเกิดเป็นระยะ ๆ เนื่องจากการหดตัวของมดลูก
แนวทางการรักษา
:<3:
อายุครรภ์ < 34 สัปดาห์
พิจารณายับยั้งการคลอด หากไม่มีข้อบ่งห้าม
Steroid เร่งความสมบูรณ์ของปอดทารก
ระหว่างอายุครรภ์ 24 - 34 สัปดาห์
Dexamethasone 6 mg IM q 12 hours x 4 dose
แนะนำให้ single course steroid พิจารณาให้ repeated dose
ในกรณีหญิงตั้งครรภ์มีการเจ็บครรภ์อีกครั้ง
ก่อนอายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์
ถ้าได้รับยา steroid ครั้งแรก ก่อนอายุครรภ์ 28 - 30 สัปดาห์
การวินิจฉัยการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ตรวจหาและแก้ไขสาเหตุหรือปัจจัยของการเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนกำหนด ประเมินสุขภาพมารดาและทารกในครรภ์
อายุครรภ์ตั้งแต่ 24 - 33+6 wk.
ตรวจหาข้อห้ามในการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
มีข้อห้ามในการยับยั้ง
• งดน้ำและอาหารทางปาก
• ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
• ไม่ให้ยา Steroid
• ให้ยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ GBS
• ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
• เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์
• ดำเนินการคลอดอย่างนิ่มนวล
ไม่มีข้อห้ามในการยับยั้ง
• งดน้ำและอาหารทางปาก ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
• ให้ยา Steroid ฉีดแบบครั้งเดียว
• พิจารณาให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
• ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
• เฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์
• กรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดได้ ให้ยาปฏิชีวนะในขณะคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ GBS
ข้อห้ามในการใช้ยายับยั้งการหดรักตัวของมดลูก
Severe preeclampsia , eclampsia
Placental abruption
Non reassuring fetal status
Chorioamnionitis
DFIU
อายุครรภ์ครบ 34 wk. หรือมากกว่า
อายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์
พิจารณาให้คลอด, ชะลอการเจาะถุงน้ำคร่ำ
และให้ GBS prophylaxis เมื่อเข้าสู่ระยะactive phase
การวินิจฉัย
ตรวจอัลตราซาวนด์ เพื่อวัดความยาวและดูรูปร่างของปากมดลูก ในการประเมินภาวะครรภ์เสี่ยงและโอกาสคลอดก่อนกำหนด
เจาะตรวจน้ำคร่ำ (Amniocentesis) เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของทารกและภาวะติดเชื้อต่าง ๆ
ตรวจภายใน โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก ความกว้าง ระยะห่าง ขนาดตัวและตำแหน่งทารกในครรภ์เพื่อประเมินความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ลดการทำงานหนักหรือออกกำลังกายเป็นเวลานาน ๆ
หลีกเลี่ยงความเครียด
ไม่ยกของหนัก
ไม่เดินทางไกลหากไม่จำเป็น
ห้ามกลั้นปัสสาวะ
อาจทำให้เกิดอาการติดเชื้อ
ในกระเพราะปัสสาวะ
เกิดอาการระคายเคืองมดลูก
และเป็นสาเหตุที่ทำให้มดลูกบีบตัว
ตั้งครรภ์แล้วควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อฝากครรภ์
พบแพทย์ตามนัดทุกครั้งอย่างสม่ำเสมอ
รักษาการติดเชื้อ
ติดเชื้อท่องคลอด
ฟันผุ
ส่งเสริมสุขภาพของคุณแม่ให้ดีก่อนการตั้งครรภ์
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตั้งครรภ์ในอายุที่เหมาะสม
ดูแลตัวเองให้แข็งแรงเพื่อป้องกันโรค
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ในช่วงอายุครรภ์ 20 wk.เป็นต้นไป
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ด้านจิตใจ
วิตกกังวล
ด้านเศรษฐกิจ
ต่อทารก
โลหิตจาง
เลือดออกในสมอง
ติดเชื้อ
พัฒนาการช้า
พัฒนาการด้านร่างกายไม่ดี
มีปัญหาด้านสติปัญญาและการมองเห็น
การขยายตัวของปอดไม่สมบูรณ์ มีปัญหาการหายใจ
สุขภาพไม่แข็งแรง
น้ำหนักตัวน้อย
previous C/S
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (Cesarean Section) หมายถึง การผ่าตัดนำเอาทารกออกจากโพรงมดลูกโดยผ่านทางรอยผ่าที่ผนังหน้าท้องและรอยผ่าที่ผนังมดลูก
ประเภทของการผ่าตัดคลอด
Elective cesarean section
คือ การผ่าตัดคลอดที่ีมีการวางแผนไว้ตั้งแต่ใกล้กำหนดครบคลอด 1-2 สัปดาห์ หรือเริ่มเข้าสู่ระยะคลอด
Emergency cesarean section
การผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ทำในกณรีไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
2. Classical incision
เป็นการผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณส่วนบนของมดลูก ใกล้ๆ กับยอดมดลูก
3. Inverted T-shaped incision
ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลุกในแนวขวาง แล้วทำคลอดทารกออกยาก จึงต้องตัดเพิ่มเป็นรูปตัวทีกลับหัว
1.low transverse cesarean section
low transverse cesarean section
เป็นการผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก
low vertical cesarean section
การผ่าตัดตามแนวตั้งที่ส่วนล่างของผนังมดลูก
4. Cesarean hyterectomy หรือ Porro cesarean section
เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องตามธรรมดา ร่วมกับผ่าตัดเอามดลุกออกไปในครั้งเดียวกัน
5.การผ่าตัดแบบ Extraperitoneal cesarean section
เป็นการผ่าตัดที่ผนังมดลูกโดยไม่ต้องผ่านเข้าภายช่องท้อง จะเลาะผ่าน Retzius space เข้าใต้กระเพาะปัสสาวะ เข้าหามดลุกส่วนล่าง
ข้อบ่งชี้
แบบสมบูรณ์
มะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานหรือช่องทางคลอด
Placenta previa
ทารกอยู่ในภาวะเครียด Fetal distress
Mechanical distocia
มีการตั้งครรภืภายหลังตกแต่งปากมดลูกหรือช่องคลอด
Prolapsed cord
การติดเชื้อรุนแรงที่ปากมดลูก
ชนิดอนุโลม
ครรภืแฝดที่ทารกไม่อยู่ในท่าศีรษะ
โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรมบางกรณ๊
ทารกท่าผิดปกติในบางกรณ๊
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเครียด
มีเลือดออกในระยะหลังของการตั้งครรภื
โรคแทรกซ้อนทางสูติกรรมบางกรณ๊
เคยผ่าตีัดที่ผนังมดลูกมาก่อน
ยาระงับความรู้สึกในการผ่าตัดคลอด
General anesthesia การใช้ยาสบ ได้ผลดีในการระงับความรู้สึก ง่ายและเร็ว แต่เพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดการสำลักอาหารและน้ำเข้าปอดในมารดาที่ไม่ได้NPO มาก่อน
Reional anestesia .ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนของร่างกาย ข้อดีคือ มารดาไม่สำลักน้ำและอาหารเข้าปอด และยาไม่มีผลกดการหายใจทารกแรกคลอด ข้อเสียคือ ทำให้ความดันเลือดลดลงมาก
ภาวะแทรกซ้อน
ขณะทำ
การบาดเจ็บต่อทารก
บาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
ภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ เช้น กดการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ
เกิดฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกจนถึงปากมดลุก
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ สำลักน้ำและอาหารเข้าปอด กดการหายใจ
หลังทำ
เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดออกในช่องท้องภายหลังการทำผ่าตัด
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
เกิดการอักเสบติดเชื้อภายในช่องท้องและเกิดหนองในอุ้งเชิงกราน
เกิดการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลุก
ภาวะ PPH ร่วมกับภาวะ Shock
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
การพยาบาล
ขณะ
เตรียมเครื่องมือผ่าตัด เครื่องมือช่วยเหลือทารก, ทำความสะอาดหน้าท้องปูผ้า, จัดท่า trendelenberg, ช่วยเหลือแพทย์, บันทึกคลอด ประเมินร่างกายทารก, ประเมินเลือดที่เสียไป ตรวจนับเครื่องมือ และผ้าวับเลือดก่อนปิดแผล
หลัง
จัดท่านอนหงายราบไม่หนุนหมอน ตะแคงศีษะจนกว่าจะรู้สึกดี, ประเมินแผลผ่าตัดทางหน้าท้อง, ประเมินเลือดที่ออกทางช่องท้องไม่ควรเกิน 200 ซีซี, บรรเทาอาการปวด,V/S I/O, ให้สารน้ำ, ช่วยเหลือทำกิจจกรม, กระตุ้น Ambulation
ก่อน
เตรียมด้านจิตใจ, NPO 6-8 hr, Shape&สวน, สวนคาสายปัสสาวะ,G/M Hct UA,ให้สารน้ำ,FHS V/S,เอกสารยินยอม, ถอดเครื่องประดับ ฟันปลอม ล้างสีเล็บ
การทำหมันหญิง
(Female sterilization)
ชนิดของการทำหมัน
ทำหมันหลังคลอด(หมันเปียก)
การทำหมันภายใน 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดบุตร นิยมทำในช่วง 48 ชั่วโมงแรกหลังการคลอด เพราะทำได้ง่าย แผลเล็ก
ทำหมันปกติ (หมันแห้ง)
การทำหมันในระยะที่ไม่ใช่ช่วง 6 สัปดาห์แรกหลัง
คลอดบุตร ใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที นอนพัก
ประมาณ 2-3 ชั่วโมง ก็สามารถกลับบ้านได้
วิธีการทำ
จะมีแผลผ่าตัดใต้สะดือ ยาวประมาณ 2-5 เซนติเมตร โดยจะทำการผูกท่อนำไข่และตัดท่อนำไข่บางส่วนออกทั้งสองข้าง หลังจากนั้นนอนพักประมาณ 1-2 วัน
กลับบ้านได้ หลังผ่าตัด 6-7 วัน มาตัดไหม
อาการข้างเคียง
มีการเสียเลือด มีการฉีกขาดของหลอดเลือด อาจมีเลืดออกในช่องท้อง
มีแผลผ่าตัด เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
อวัยวะข้างเคียงภายในได้รับบาดเจ็บ
มีอาการปวดท้องน้อย
เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การปฏิบัติตัวหลังทำหมัน
ควรปัสสาวะภายใน 6 ชั่วโมงหลังทำหมัน
ระวังไม่ให้แผลโดนน้ำจนกว่าจะตัดไหม
หากมีเลือดซึมบริเวณแผล รีบแจ้งเจ้าหน้าที่
นอนพักบนเตียงอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
รับปรทานอาหารร้อนและยาได้ตามปกติ
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือน
ผลกระทบ
ข้อเสีย
ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ได้
มีโอกาสตั้งครรภ์นอกมดลูก
มีแผลผ่าตัดที่หน้าท้อง
ข้อดี
ไม่มีผลต่อการให้นมบุตร
ไม่ขัดขวางการมีเพศสัมพันธ์ุ
ลดโอกาสการเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ฮอร์โมน
มีประสิทธิภาพสูง
สะดวก ค่าใช้จ่ายไม่แพง ไม่ต้องกลัวลืมทานยา
Problem list 🔔
ทารกดิ้นน้อย
แนะนำให้นับลูกดิ้นทุกวัน วันละ 3 เวลาหลังอาหาร 1 ชม.
มื้อเช้า กลางวัน เย็น หากทารกไม่ดิ้น
หรือดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งต่อวัน ให้รีบมาพบแพทย์
ควรบันทึกการดิ้นของลูกทุกครั้ง
อธิบายถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อทารกดิ้นน้อย
ภาวะเครียด
ขาดออกซิเจนการไหลเวียนของเลือดที่รกลดลง
ร่างกายต้องการลดพลังงานและออกซิเจน เพื่อสงวนไว้ให้อวัยวะที่สำคัญ ๆ
เกิดจากโพรงมดลูกคับแคบจนกระทั่งลูกแทบจะเคลื่อนไหวไม่ได้
เกิดจากรกเสื่อมสภาพไปตามอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น ทำให้อาหารและออกซิเจนที่ส่งผ่านรกไปยังลูกในท้องน้อยลงไปด้วย จนทำให้ลูกดิ้นน้อย ต้องไปพบแพทย์ในทันที
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ทารกจะดิ้นน้อยลงหรือหยุดดิ้นเป็นเวลา 12-48 ชั่วโมง ให้รีบพบแพทย์เพราะลูกอาจจะเสียชีวิตได้
ให้คำแนะนำกระตุ้นให้ทารกดิ้น
1.แนะนำให้ปรับเปลี่ยนท่านอนเป็นตะแคงซ้าย ตะแคงขวา หรือจะกึ่งนั่งกึ่งนอน เพราะทุกครั้งที่ขยับตัวทารกในท้องจะดิ้นตอบกลับ
2.ลูบหน้าท้องเป็นวงกลมหรือแตะหน้าท้องเบาๆ เป็นการช่วยกระตุ้นระบบประสาทและสมองส่วนรับความรู้สึกของทารกในครรภ์
3.ออกกำลังกาย เช่น ว่ายน้ำ โยคะ ช่วยให้ลูกขยับร่างกายดิ้นไปตามการเคลื่อนไหวของแม่
4.ดื่มน้ำเย็นๆ เพื่อกระตุ้นให้ลูกตื่น
5.ให้ลูกฟังเพลงหรือพูดคุยกับลูกในท้องบ่อยๆ เป็นการกระตุ้นให้ลูกในท้องดิ้น
6.ส่องไฟฉายที่หน้าท้อง เปิดเป็นแบบกระพริบๆ เลื่อนไฟฉายกระพริบประมาณ 5 นาที เป็นการช่วยกระตุ้นพัฒนาการ ในการใช้สายตาให้ลูก
ส่งเสริมความรู้เพื่อเตรียมตัวคลอด
อาการเจ็บครรภ์จริง
ลักษณะการเจ็บครรภ์
มดลูกหดรัดตัวทุก 5 -10 นาที เป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เกิดบริเวณหลังส่วนล่างหรือบั้นเอว ร้าวมาถึงหน้าท้องส่วนบนบริเวณยอดมดลูก
อาการเจ็บครรภ์ไม่หายหลังจากทานยาแก้ปวด
ให้คำแนะนำมารดาหากมีอาการผิดปกติให้รีบมาโรงพยาบาล
ลูกดิ้นน้อยลงหรือลูกไม่ดิ้น
มีอาการเจ็บครรภ์ ทุกๆ10นาที และเจ็บถี่ขึ้น
มีน้ำเดิน เป็นสีใส ไหลออกมาจากช่องคลอด ไม่สามารถกลั้นได้
มีมูกเลือดหรือเลือดสด ออกมาทางช่องคลอด
อาการผิดปกติอื่นๆเช่น มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ ปสสาวะออกน้อย
ตกขาวมากผิดปกติ
อาการเจ็บครรภ์เตือน
ลักษณะการเจ็บครรภ์
ปวดเฉพาะบริเวณหน้าท้อง อาการปวดไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
มดลูกหดรัดตัวน้อยมาก มีระยะห่างมาก ไม่สม่ำเสมอ
อาการเจ็บครรภ์หายหลังจากเปลี่ยนท่าหรือหลังทานยาแก้ปวด
คอยสังเกตุอาการ
ยังไม่ต้องมาโรงพยาบาล
ไม่มีมูกเลือดปน
ไม่มีการเปิดของปากมดลูก
เตรียมของใช้ที่จำเป็น
มารดา
แปรงสีฟันและยาสีฟัน
สบู่ ยาสระผม
สมุดบันทึกการฝากครรภ์
ผ้าเช็ดตัว
เอกสารสำคัญ
ทารก
ผ้าห่อตัว
ชุดเด็ก
ผ้าอ้อม