Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาเกี่ยวกับรัฐ (อิทธิพลของสำนักพหุนิยม (สำนักพหุนิยม…
การศึกษาเกี่ยวกับรัฐ
การศึกษารัฐกับสังคม
การศึกษาแบบเดิม
เน้นสถาบันทางการเมือง
รัฐ
กฎหมายและอำนาจในการควบคุม
กลุ่มคนในสังคม
อำนาจอธิปไตย
การศึกษาแบบใหม่
พฤติกรรมทางการเมือง
David Easton
การเมือง
กิจกรรมมีพลวัตรเป็นกระบวนการ
มีปัจจัยที่ป้อนเข้าสู่ระบบการเมืองก่อเกิดเป็นนโยบาย
การมองการเมืองอย่างเป็นระบบ
โครงสร้าง
หน้าที่
บริเวณของกิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวกับกิจกรรมด้านอื่นๆในสังคม
เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ช่วยให้เข้าใจและความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางการเมืองกับการปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันอื่น
ช่วยเปรียบเทียบลักษณะและการปฏิบัติงานของระบบการเมืองต่างๆ
อิทธิพลของสำนักพหุนิยม
สำนักพหุนิยม
เน้นพลังทางการเมืองของกลุ่มหลากหลาย
ปฏิเสธความสำคัญของรัฐ
รัฐไม่ได้มีฐานะเป็นเครื่องมือทางการบริหาร
ผู้นำทางการเมืองถูกจำกัดการใช้อำนาจโดยพลังอำนาจของกลุ่มต่างๆในสังคม
ปฏิเสธความคิดมาร์กซิส
สานต่อสำนักเสรีนิยมคลาสสิก
เกิดจากการเฟื่องฟูของพฤติกรรมศาสตร์
ปฏิเสธความเกี่ยวพันระหว่างกฎระเบียบกับพฤติกรรม
อิทธิพลทางความคิดของสำนักพหุนิยมและพฤติกรรมนิยม
การศึกษาทางด้านการพัฒนาทางการเมือง
ตัวแบบของระบบการเมือง
สามารถระบุถึงโครงสร้างและหน้าที่
นำไปสู่การเปรียบเทียบลักษณะและการปฏิบัติงานของระบบการเมือง
สารถวัดระดับการพัฒนาการของระบบการเมืองได้
อิงตัวแบบและคุณค่าตะวันตก
อิงตัวแบบและคุณค่าของภาวะทันสมัย
เน้นความมีเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงจุดสนใจของนักรัฐศาสตร์
เปลี่ยนจากการศึกษารัฐมาเป็นการศึกษาการเมือง
เกิดจากรู้สึกว่าการศึกษาเรื่องรัฐมีข้อจำกัดและบทบาทของรัฐควบคุมพฤติกรรมคนในสังคมมากเกินไป
กลุ่มในสังคมมีบทบาททางการเมืองสูงมาก
เชื่อว่าต้องหาวิธีการ แนวคิด ทฤษฎี ที่สามารถใช้ทดสอบและวัดปรากฏการณ์-พฤติกรรมทางการเมืองได้
สะท้อนการเปลี่ยนแปลงในสหรัฐอเมริกา
เศรษฐกิจ-สังคม
ทฤษฎีสังคมศาสตร์
ช่วยให้รัฐศาตร์คงอยู่คู่ศาสตร์อื่นได้
เศรษฐศาสตร์
สังคมวิทยา
มานุษยวิทยา
จิตวิทยา
รัฐศาสตร์ ทศวรรษ 1960
Robert Dahl
Who Governs
Polyarchy
ให้คำจำกัดความทางการเมืองที่สอดคล้องกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม
มีลักษณะหลากหลายแบบสังคมพหุนิยม
ลักษณะของนักรัฐศาสตร์สำนักพหุนิยม-พฤติกรรมนิยม
เข้ากันได้ดีกับสำนักนวคลาสสิก
เชื่อว่าต่างฝ่ายเชื่อมั่นว่าศาสตร์ของตนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมได้
โน้มเอียงสนับสนุนทุนนิยม
เชื่อว่าทุนนิยมทำให้การเมืองเป็นปนะชาธิปไตยมากขึ้น
การทบทวนทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐ
งานส่วนใหญ่บุกเบิกนวมาร์กซิส
วิเคราะห์โครงสร้างรัฐภายใต้ทุนนิยม
สำนักทฤษฎีการพึ่งพา
ศึกษาสังคมเศรษฐกิจการเมืองกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา
เชื่อมโยงกับทุนนิยมโลก
ศูนย์กลางอำนาจเศรษฐกิจภายใต้มหาอำนาจ
แนวทางใหม่ในการศึกษารัฐกับสังคม
Nicos Poulantzas
รัฐกับสังคมจะสนใจเฉพาะสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้
ต้องเน้นที่รัฐ
การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับรับในเชิงเปรียบเทียบมีน้อยมากเมื่อเทียบกับการศึกษาเกี่ยวกับสังคม
แนวคิดกระแสหลักจากสังคมศาสตร์แบบตะวันตก
หน้าที่ของระบบ
ทฤษฎีระบบ
สำนักมาร์กซิสต์ที่เป็นทางการ
เกิดจากกระแสความคิดทางทฤษฎีและความสำนึกใหม่ทางสังคมศาสตร์
บทบาทของรัฐและการพัฒนาของโครงสร้างรัฐได้ขยายขอบเขตมากขึ้น
ด้านที่เสนอให้เน้นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับรัฐ
ปัญหาทั่วไปเกี่ยวกับทฤษฎีรัฐ
แนวทางการศึกษา
สังคมศาสตร์แบบแองโกล-แซกซอน
มาร์กซิส
นิติรัฐและสังคมวิทยา-การเมือง
ประเด็นการศึกษาทฤษฏี
รัฐ การเมือง และอำนาจ
ความเกี่ยวเนื่องระหว่างส่วนที่เป็นเศรษฐกิจ-สังคม กับส่วนที่เป็น การเมือง-รัฐ
รัฐและรูปแบบขององค์กรที่มีอำนาจครอบงำสังคม
รัฐและฉันทานุมัติทางการเมือง- สังคม
กลไกของรัฐกับความสัมพันธ์ทางชนชั้น
หัวข้อศึกษาที่ต้องอาศัยทฤษฎีเป็นหลัก
การศึกษารัฐที่มีรูปแบบพิเศษออกไป
รัฐฟาสซิสต์
รัฐเผด็จการทหาร
ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
ความสัมพันธ์ทางโครงสร้างระหว่างรัฐ
ทุนนิยมศูนย์กลาง
ทุนนิยมพึ่งพา
สังคมนิยม
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ชาติ รัฐประชาชาติ และ จักรวรรดินิยม
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของรัฐในปัจจุบัน
รัฐกับระบอบประชาธิปไตย
รัฐคืออะไร
การให้คำจำกัดความ
Roger Benjamin
Raymond Duvall
นักสังคมศาสตร์ที่ไม่ใช่มาร์กซิสต์
รัฐ ในฐานะที่เป็นรัฐบาล
กลุ่มคนที่ดำรงตำแหน่งที่มีอำนาจในการตัดสินใจในสังคมการเมือง
รัฐ ในฐานะที่เป็นระบบราชการ
เครื่องมือทางการบริหารที่เป็นปึกแผ่น
เป็นระเบียบทางกฎหมาย
มีความเป็นสถาบัน
นักมานุษยวิทยา
รัฐ ในฐานะที่เป็นโครงสร้างทางอุดมการณ์
แนวคิดของมาร์กซิสต์
รัฐ ในฐานะที่เป็นชนชั้นปกครอง
Althusser
อาศัยความรุนแรงเป็นพื้นฐาน
อำนาจรัฐ
(stat power)
แสดงออกอย่างเป็นรูปธรรม
การกระทำต่างๆ ของรัฐ
นโยบาย
อาศัยด้านอุดมการณ์
กลไกของรัฐ
(state apparatus)
ใช้ในด้านการปราบปราม
ตำรวจ
ระบบราชการ
ศาล
รัฐบาล
คุก
ทหาร
ใช้ในด้านอุดมการณ์
องค์กรเอกชน
ศาสนา
การศึกษา
ครอบครัว
กฎหมาย
การเมือง
สหภาพแรงงาน
สื่สารมวลชน
วัฒนธรรม
Mandel
รัฐทำหน้าที่แทนสังคม
เป็นตัวแทนของประโยชน์ร่วมของสังคม
Poulantzas
เป็นความสัมพันธ์ทางสังคมแบบชนชั้น
กระบวนการการใรการใช้อำนาจผ่านสถาบันต่างๆ
ศาล
ตำรวจ
รัฐบาล
Miliband
รัฐคือสถาบันจำนวนหนึ่ง
ซึ่งสถาบันเหล่านี้เป็นกลไกของรัฐ
ตำรวจ
รัฐบาล
ศาล
ระบบบริหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ
สภาพแวดล้อมภายในและระหว่างประเทศ
Nettle
แนวคิดแบบ sovereign state
รัฐมีฐสนะสูงกว่าองค์กรอื่น ๆ ในสังคม
อำนาจของรัฐเป็นอำนาจตามกฎหมาย
รัฐ ในฐานะที่เป็นหน่วยหนึ่งในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความเป็นรัฐสูง
รัฐมีอิสระในการดำเนินกิจการระหว่างประเทศสูง
ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอกสังคม
(extra-social)
ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายในสังคม
(intrasocial)
ทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐ
รัฐทุนนิยม
(capitalist state)
แบบวัถุนิยมประวัติศาสตร์
(historical materialist approach)
รัฐเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตและการสืบทอดวิถีการผลิตทางสังคมที่ดำเนินการต่อเนื่องอยู่ตอลดเวลา
รัฐในระบบทุนนิยม
(state in capitalism)
แบบอัตวิสัย
(subjectivist approach)
ใครเป็นผู้มีอำนาจทางสังคม
ใช้ตัวแบบเน้นการวิเคราะห์สังคม
ศึกษาเกี่ยวกับสำนักพหุนิยม
(pluralism)
ศึกษาเกี่ยวกับชนชั้นปกครอง
(the power elite)
แบบเศรษฐกิจ
(economic approach)
เงื่อนไขความจำเป็นในการสะสมทุน
การประสานกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เสนอความเป็นตัวแทนประชาธิปไตยที่มีพื้นฐานอยู่บนความสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยน