Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antenatal Care : :<3: (DATA (การตรวจร่างกาย
Head to toe (ตา :…
Antenatal Care : :<3:
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
-
-
GDM
GDMA1
เบตาเซลล์ของตัดอ่อนถูกทำลายจากปฏิกริยาภูมิต้านทานภายในร่างกาย (Autoimmune) หรือติดไวรัสบางชนิด Ex. Rubella etc. จนไม่สามารถสร้างinsulin ได้ ทำให้น้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
-
GDMA2
เบตาเซลล์ของตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก เบตาเซลล์ลดลง 40-50 %
-
-
-
-
ผลกระทบของโรคเบาหวาน
-
ทารก
-
-
delay lung maturity
จากสร้างสารที่เปื้อนส่วนประกอบของสารเคลือบถุงลมปอด(phosphatidyl glycerol) ช้า -->surfactant สมบูรณ์ช้ากว่าปกติ (สมบูรณ์เมื่อ GA 38wk.)
-
-
-
-
DATA
ข้อมูลทั่วไป
-
-
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ : 57 kg ส่วนสูง : 160 cm
BMI : 22.26 kg/m2
น้ำหนักปัจจุบัน : 68.9 kg
BMI : 26.91 kg/m2
น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ : 11.9 Kg
(น้ำหนักตลอดการตั้งครรภ์ควรเพิ่มขึ้น 11.5-16.0 kg)
การได้รับวัคซีน : ได้รับวัคซีน 3 เข็ม ครบ : :check:
:pencil2: เข็มที่ 1 : ปี 2557
:pencil2: เข็มที่ 2 : ปี 2557
:pencil2: เข็มที่ 3 : วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563
-
ประวัติการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ทั้งหมด 7 ครั้ง (รวมครั้งนี้)
- แท้ง 4 ครั้ง , คลอด NL 2 ครั้ง
:!:ปี 2548 : Criminal Abortion
I
I
:!:ปี 2549 : full term คลอด normal labor เพศชาย
น้ำหนัก 2800 g
I
I
:!:ปี 2551 : Criminal Abortion
I
I
:!:ปี 2557 : Preterm คลอด normal labor เพศชาย
น้ำหนัก 3200 g ; ตัวเหลือง
I
I
:!:ปี 2559 : Criminal Abortion
I
I
:!:ปี 2562 : Spontaneous Abortion ; ขูดมดลูก :
การแท้ง (Abortion) ;
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนที่ทารกในครรภ์จะมีชีวิตอยู่รอด โดยทั่วไปหมายถึง การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 20 wks
-
ปัจจัยเสี่ยง
รกเกาะต่ำ (Placenta Previa) ;คือ ภาวะที่รกฝังตัวอยู่บริเวณส่วนล่างของมดลูก (lower uterine segment) โดยเกาะใกล้หรือคลุมบริเวณปากมดลูกด้านใน (Internal os)
-
รกเกาะติดแน่น (Placenta Adherent) ; ภาวะที่ผิดปกติในการฝังตัวของรก โดยรกฝังตัวลึกเข้าไปในชั้นกล้ามเนื้อ Myometrium หรือชั้น perimetrium ของมดลูก ซึ่ง ปกติจะฝังตัวที่ชั้น endometrium
-
-
Grand multiparity ; สตรีตั้งครรภ์ที่เคยคลอดมาแล้ว 4 ครั้ง คลอดบุตรที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 500 กรัม หรืออายุครรภ์ ตั้งแต่ 22 สัปดาห์ขึ้นไปอย่างน้อย 1 ครั้ง
-
การตรวจครรภ์
การดู :เห็นเป็น longitude line พบ linea nigra ขนาดหน้าท้องสัมพันธ์กับอายุครรภ์ พบ Stariae gravidarum สีเงิน
การคลำ : 3/4 >=0= ,OL , Vx , HF
การฟัง : FHS 130 bpm , regular
-
LAB
-
-
-
-
การตรวจคัดกรองเบาหวาน
ข้อบ่งชี้
-
-
-
-
-
มีประวัติไม่ดีทางสูติศาสตร์
- ทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ
- ทารกพิการโดยกำเนิด
- มีประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม
- ทารกเสีชีวิตในครรภ์
-
-
-
Problem List :star:
-
-
-
ให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์
แนะนำการนับลูกดิ้น เพื่อป้องกันการและแก้ไขภาวะทารกตายในครรภ์ โดยสังเกตลูกดิ้นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง สังเกตลูกดิ้นจะทำเมื่อหลังทานข้าว ก่อนนอน หรือตื่นนอน เวลาในการเฝ้าระวัง คือ ลูกดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้ง/ชั่วโมง ต้องรีบมาพบแพทย์
แนะนำให้ทำกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ vallop curve เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และติดตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักของแม่ขณะตั้งครรภ์
-
-
-
เมื่อแท้ง และทำการขูดมดลูก หรือเมื่อผ่านการคลอดบุตรมาหลายครั้ง ทำให้ในโพรงมดลูกเกิด scar ซึ่งเวลารกเกาะจะเลือกเกาะตรงตำแหน่งที่พื้นผิวเรียบ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดรกเกาะต่ำได้ และอาจเกิดรกเกาะติดแน่นได้ ถ้ารกเกาะตำแหน่งที่มี scar ซึ่งรกเกาะแน่น
notify : Grand multiparity , GDMA2 , Previous Preterm
-
-
-
-