Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด (ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum…
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
(postpartum depression)
อาการและอาการแสดง
ได้แก่ ซึมเศร้าโดยมีอาการเกือบทั้งวันความสนใจ
หรือความเพลิดเพลินใจในสิ่งต่างๆลดลงอย่างมาก
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง หรือกินจุ น้ำหนักเพิ่มขึ้น
นอนไม่หลับ หรือนอนมากกว่าปกติ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุสมผล
สมาธิลดลง ลังเลใจ อาจมีความคิดในการฆ่าตัวตาย
หรือทำร้ายบุตร
ผลกระทบของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ผลกระทบต่อมารดาหลังคลอดได้แก่ สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกายจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ความเหนื่อยล้า เซื่องซึม และสูญเสียพลังงาน
ผลกระทบต่อครอบครัว ได้แก่ การติดต่อสื่อสารภายในครอบครัวไม่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ
ผลกระทบต่อบุตรได้แก่ มารดาหลังคลอดไม่สามารถแสดงบทบาทการเป็นมารดาได้ดี ไม่สามารถส่งเสริมหรือกระตุ้นพัฒนาการด้านร่างกายและจิตอารมณ์ของบุตร ปฏิเสธและไม่สนใจบุตร มักโยนความผิดให้แก่บุตร มีการทุบตีทารุณเด็ก ละทิ้งเด็ก
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางจิตใจ (psychological stress)
ความตึงเครียดทางสังคม (social stress)
ความตึงเครียดทางร่างกาย (biological stress)
ภาวะโรคจิตหลังคลอด
(postpartum psychosis)
สาเหตุ
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติไบโพลาร์ (bipolar)
ผลกระทบของโรคจิตหลังคลอด
รู้สึกว่าตนมีความผิดที่มีอารมณ์เศร้าในช่วงเวลาซึ่งควรมีความสุข
รู้สึกห่างเหินต่อบุตร
ขาดความสนใจทางเพศ
อาจฆ่าบุตรได้ (infanticide)
สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกาย
มีอาการโรคจิตหลังคลอดมีโอกาสสูงถึงร้อยละ 30 - 50 ที่จะ
เกิดอาการซ้ำในการคลอดครั้งต่อไป
อาการแสดงของโรคจิตหลังคลอด
อาการโรคจิต ต่อจากระยะแรก มารดาหลังคลอดจะ
มีอาการโรคจิตหรือวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติของอารมณ์
ซึ่งอาการจำเพาะของโรคจิตหลังคลอด คือ โรคไบโพลาร์ (bipolar disorder)
อาการนำ มักเป็นในระยะ 2 - 3 วันแรกหลังคลอด
มารดาจะมีอาการไม่สุขสบายนำมาก่อนอาการที่พบบ่อย
คือ นอนไม่หลับ ฝันร้าย บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
นางสาวจิรามณี วามะลุน เลขที่10 ห้อง A