Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังคลอด(puerperal infection) (ปัจจัยเสี่ยง (ทำคลอดโดยใช้สูติศ…
การติดเชื้อหลังคลอด(puerperal infection)
ความหมาย
ติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์หลังคลอด
BT ≥ 38 องศาเซลเซียส นานเกิน 24 ชั่วโมง
ปวดอุ้งเชิงกราน
ตกขาวผิดปกติทางช่องคลอดหรือเป็นหนอง
มดลูกลดขนาดลงช้าหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ร่วมกับ การติดเชื้อในระบบอื่นๆ
เต้านม
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีไข้หลังคลอด
BT ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ช่วง 2 ใน 10 วันแรกหลังคลอด
สาเหตุ
ติดเชื้อจากภายนอก
ติดเชื้อจากตัวผู้ป่วยเอง
ติดเชื้อจากโรงพยาบาล
ปัจจัยเสี่ยง
ทำคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้อง
ระยะเจ็บครรภ์และการคลอดยาวนาน
ล้วงรก หรือตรวจภายใน
ตรวจภายในบ่อยในระยะรอคลอด
เศษรกค้างในโพรงมดลูก
ภาวะทุพโภชนาการ และภาวะโลหิตจางตั้งแต่ตั้งครรภ์
ดูแลแผลฝีเย็บที่ไม่ถูกต้อง
ชนิด
ติดเชื้อเฉพาะที่
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ, ปากช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
ปัสสาวะลำบาก
การรักษา
เปิดแผลให้หนองระบาย
hot sitz bath
ยาปฏิชีวนะและยาระงับปวด
ติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง 38.5 – 40 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็ว หนาวสั่น
ปวดท้องน้อย บริเวณมดลูกและปีกมดลูก
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็นหรือมีหนองปน
มดลูกเข้าอู่ช้า มีเลือดออกทางช่องคลอดเล็กน้อย
การรรักษา
ยาปฏิชีวนะ
รักษาแบบประคับประคอง
ติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
แพร่กระจายไปตามหลอดเลือดำ
pelvic thrombophlebitis
femoral thrombophlebitis
pyemia จาก infected emboli
อาการและอาการแสดง
ปวดกล้ามเนื้อน่อง
ปวดท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้งสองข้าง
หนาวสั่นโดยไม่มีไข้
ขาบวมตึง กดไม่บุ๋ม
แพร่กระจายไปตามระบบน้าเหลือง
parametritis
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน
มดลูกกดเจ็บ
ปวดท้องน้อย
มีไข้สูงลอย
peritonitis
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น ชีพจรเร็ว
ปวดท้องรุนแรง
กดเจ็บมี rebound tenderness
กระสับกระส่าย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
หายใจเร็ว กดเจ็บบริเวณท้องน้อย มดลูกเข้าอู่ช้า
น้าคาวปลามีกลิ่นเหม็นและมีปริมาณมาก
ซีด มีไข้สูง ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, gram stain
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อหาก้อนหนอง
ซักประวัติ
ภาวะสุขภาพ
ภาวะโภชนาการก่อนตั้งครรภ์
การแตกของถุงน้าคร่ำ
ระยะเวลาและชนิดของการคลอด
การรักษา
รักษาอาการทั่วไป
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาภาวะช็อก
จัดท่านอน fowler position
รักษาและการเลือกใช้ยาปฏิชีวนะ
อาการรุนแรง
ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
อาการไม่รุนแรง
ยาปฏิชีวนะแบบรับประทานได้