Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ (หมวด ๑ …
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. ๒๕๔๖”
มาตรา ๓
ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติครู พุทธศักราช ๒๔๘๘
(๒) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๕
(๓) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๙
(๔) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙
(๕) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๑
(๖) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๓
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๔
ในพระราชบัญญัตินี้
บุคลากรทางการศึกษาอื่น
บุคคลซึ่งทำหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ให้บริการ
หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ
หน่วยงานการศึกษา
สถานศึกษาหรือหน่วยงานอื่นที่มีหน้าที่กำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริมให้บริการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญาทั้งของรัฐและ เอกชน
ผู้บริหารการศึกษา”
บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชนที่มีอำนาจหน้าที่ หรือมีวัตถุประสงค์ ในการจัดการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา
บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งออกให้ผู้ปฏิบัติงานในตำแหน่งครู
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามพระราชบัญญัตินี้
ครู
บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ
เจ้าหน้าที่”
บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
รัฐมนตรี
รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
วิชาชีพ
วิชาชีพทางการศึกษาที่ทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน
และการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ
กระทรวง
กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๕
การประกอบวิชาชีพต้องอยู่ภายใต้บังคับหลักเกณฑ์การมีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา๖
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มี อำนาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้รวมทั้งให้มีอำนาจตีความ และวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติการ อำนาจหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่ง หรือหน่วยงานต่างๆ ตามที่กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
ส่วนที่ ๒
คณะกรรมการคุรุสภา
ส่วนที่ ๓
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ส่วนที่ ๔
การดำเนินงานของคุรุสภา
ส่วนที่ ๕
การประกอบวิชาชีพควบคุม
ส่วนที่ ๖
สมาชิกคุรุสภา
มาตรา ๕๙
สมาชิกสามัญต้องเป็นผู้ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓ (ข) (๑) (๒) และ(๓) และเป็นผู้มีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๖๐
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ มีดังต่อไปนี้
1 more item...
มาตรา ๕๘
สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท ดังนี้
1 more item...
มาตรา ๖๑
สมาชิกภาพของสมาชิกย่อมสิ้นสุดเมื่อ
5 more items...
มาตรา ๕๐
มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพประกอบด้วย
(๑) จรรยาบรรณต่อตนเอง
(๒) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
๓) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
(๕) จรรยาบรรณต่อสังคม
(๔) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๕๑
บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้
ได้รับใบอนุญาตมีสิทธิกล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อคุรุสภา
มาตรา ๔๙
ให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
(๓) มาตรฐานการปฏิบัติตน
(๑) มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
(๒) มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรา ๕๒
เมื่อคุรุสภาได้รับเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๕๑ ให้
เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพโดยไม่ชักช้า
มาตรา ๔๘
ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๕๓
ให้ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ พร้อมทั้งส่งสำเนาเรื่องที่กล่าวหาหรือกล่าวโทษให้ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกกล่าวหาหรือกล่าวโทษล่วงหน้าไม่ น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนเริ่มพิจารณา
มาตรา ๔๗
ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไขตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๕๔
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี
(๒) ตักเตือน
๓) ภาคทัณฑ์
(๔) พักใช้ใบอนุญาตมีก าหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกินห้าปี
(๕) เพิกถอนใบอนุญาต
(๑) ยกข้อกล่าวหา
มาตรา ๔๖
ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบ วิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากคุรุสภา และห้ามมิให้สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบ วิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคุรุสภา
มาตรา ๕๕
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา ๕๔ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) อาจอุทธรณ์คำวินิจฉัยต่อคณะกรมการคุรุสภาภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งคำ วินิจฉัย
มาตรา ๔๕
การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต การกำหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุ ใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๕๖
ห้ามมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต ผู้ใดประกอบ วิชาชีพควบคุมหรือแสดงด้วยวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมนับแต่วันที่ ทราบคำสั่งพักใช้ใบอนุญาตนั้น
มาตรา ๔๔
ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(ข) ลักษณะต้องห้าม
3 more items...
(ก) คุณสมบัติ
3 more items...
มาตรา ๕๗
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นขออีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้นห้าปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอน
มาตรา ๔๓
ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุม
ตามพระราชบัญญัตินี้ การกำหนดวิชาชีพควบคุมอื่นให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๘
รัฐมนตรีจะเข้าร่วมประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ
คุรุสภา หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคุรุสภาในเรื่องใดๆ ก็ได้
มาตรา ๒๙
ให้นำความในมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับกับการประชุมของ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรือคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา ๓๐
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการ มาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมการประกอบวิชาชีพเป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๒๗
ในการประชุม ถ้าประธานกรรมการคุรุสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
มาตรา ๓๑
ให้คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจเรียกบุคคล ใดๆ มาให้ถ้อยคำหรือแจ้งให้บุคคลใดๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานที่จำเป็นต่อการดำเนินงานตามอำนาจและ หน้าที่
มาตรา ๓๒
ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการและคณะทำงาน ได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยความเห็นชอบของ คณะรัฐมนตรี
มาตรา ๓๓
กรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๓) (๔) และ (๕) จะดำรงตำแหน่งตามมาตรา
๒๑ (๓) (๔) และ (๕) และมาตรา ๖๔ (๓) และ (๔) แล้วแต่กรณีในคราวเดียวกันไม่ได้
มาตรา ๒ต
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีการประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๓๔
ให้มีสำนักงานเลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๒) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย
(๓) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการดำเนินงานเสนอต่อคุรุสภา
(๑) รับผิดชอบเกี่ยวกับการด าเนินงานของคุรุสภา
มาตรา ๓๕
ให้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภามีเลขาธิการคุรุสภาคนหนึ่งบริหารกิจการของ ส านักงานเลขาธิการคุรุสภา รวมทั้งดำเนินการตามที่ประธานกรรมการคุรุสภา คณะกรรมการคุรุสภา ประธาน กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมอบหมาย
มาตรา ๓๖
เลขาธิการคุรุสภาต้องเป็นผู้สามารถท างานให้แก่สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้
เต็มเวลา และต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(ก) คุณสมบัติทั่วไป
มีสัญชาติไทย
มีอายุไม่ต่ำกว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบห้าปี
เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับกิจการของคุรุสภา ตามที่กำหนดไว้
(ข) ลักษณะต้องห้าม
มีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา ๑๓ (ข) (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)
เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่กระทำกับคุรุสภา
มาตรา ๓๗
เลขาธิการคุรุสภามีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก
แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๓๘
นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ
มาตรา ๓๙
เลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๔๑
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็นผู้แทนของคุรุสภา เพื่อการนี้ เลขาธิการคุรุสภาจะมอบอำนาจให้บุคคลใดปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตาม ข้อบังคับที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
มาตรา ๔๒
ให้คณะกรรมการคุรุสภาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น
ของเลขาธิการคุรุสภาโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตร
มาตรา ๒๓
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๒๑ (๓) (๔) และ (๕) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ แล้วแต่กรณ
มาตรา ๒๔
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๒๑ (๑) (๓) (๔) และ (๕) ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๒
การสรรหา การเลือก และการเลือกตั้งกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๒๑(๓) (๔) และ (๕) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๒๕
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจและหน้าที่
(๓) ส่งเสริม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
(๔) ส่งเสริม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ตามที่ก าหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
๕) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเพื่อกระทำ
การใดๆ อันอยู่ในอ านาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(๒) กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(๗) พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย
(๑) พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา ๒๑
ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวนหกคน
(๕) กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจำนวนหกคน
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสี่คน
(๒) กรรมการโดยตำแหน่ง
(๔) กรรมการจากคณาจารย์ในคณะครุศาสตร์ ึ่งเลือกกันเองจำนวนสองคน
(๑) ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒ
มาตรา ๑๒
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการคุรุสภา ประกอบด้วย
(๒) กรรมการโดยต าแหน่ง
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจ านวนเจ็ดคน
(๑) ประธานกรรมการ
(๔) กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์
(๕) กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา ๑๓
ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้และไม่มี
(ก) คุณสมบัติทั่วไป
(๒) มีอายุไม่ต่ำ่กว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์
(๓) มีความซื่อสัตย์และยุติธรรมเป็นที่ประจักษ์
(๑) มีสัญชาติไทย
(ข) ลักษณะต้องห้าม
(๔) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นกรรมการหรือดำรงตำแหน่งซึ่งรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
(๕) เป็นเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างหรือที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีสัญญาจ้างกับสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาหรือสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๓) เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณ และการประกอบวิชาชีพ
(๖) เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๗) เป็นผู้มีส่วนได้เสียในกิจการที่กระทำกับกิจการคุรุสภาหรือสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๑) เป็นบุคคลล้มละลายซึ่งศาลยังไม่สั่งให้พ้นจากคดี
(๘) มีลักษณะต้องห้ามอื่นตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๑๔
(๒) เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี
(๑) เป็นผู้มีใบอนุญาตและไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓ กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังต่อไปนี้
มาตรา ๑๕
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓ กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการ ศึกษาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น ต้องมี คุณสมบัติเฉพาะตามมาตรา ๑๔ (๑) และต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมีประสบการณ์ใน ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น รวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี
มาตรา ๑๖
กรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑) (๓) (๔) และ (๕)
ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีก
แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๑๗
นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑) (๓) (๔) และ(๕) พ้นจากต าแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบัติ
มาตรา ๑๘
ก่อนครบวาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑) (๓) (๔) และ (๕) ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งจำนวนสิบเอ็ดคนจาก คณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๒) จำนวนห้าคน และจากผู้แทนสมาคมวิชาการหรือวิชาชีพด้าน การศึกษาที่เป็นนิติบุคคล ซึ่งเลือกกันเองจำนวนหกคน ท าหน้าที่สรรหาบุคคลที่สมควรเป็นประธานกรรมการ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา ๑๙
ในกรณีที่กรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๑) และ (๓) พ้นจากตำแหน่งก่อน ครบวาระ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้อื่นซึ่งได้รับการสรรหาในลำดับถัดไปดำรงตำแหน่งแทนก็ได้และให้ผู้ได้รับ แต่งตั้งแทนนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งไว้แล้ว
มาตรา ๒๐
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) บริหารและดำเนินการตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของคุรุสภาซึ่งกำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
(๒) ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๕๔
(๔) เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด
(๕) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
(๖) ควบคุมดูแลการดำเนินงานและการบริหารงานทั่วไป ตลอดจนออกระเบียบ ข้อบังคับประกาศ หรือข้อกำหนดเกี่ยวกับสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาในเรื่องดังต่อไปนี้
(ก) การจัดแบ่งส่วนงานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาและขอบเขตหน้าที่ของส่วนงานดังกล่าว
(ข) การกำหนดตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะ อัตราเงินเดือน ค่าจ้าง และค่าตอบแทนอื่นของพนักงานเจ้าหน้าที่ของคุรุสภา
(ค) การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตั้ง การถอดถอน วินัยและการลงโทษทางวินัย การออกจากตำแหน่ง การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งวิธีการ เงื่อนไขในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ของคุรุสภา
(ง) การบริหารและจัดการการเงิน การพัสดุ และทรัพย์สินของคุรุสภา
(จ) กำหนดอำนาจหน้าที่และระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน
(๗) กำหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
(๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
(๙) พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๙
(๑) กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(๒) ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(๓) ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
(๔) พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
(๕) สนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรจาบรรณของวิชาชีพ
(๖) ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(๗) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
(๘) รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ
(๙) ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
(๑๐) เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
(๑๑) ออกข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย
(ฉ) มาตรฐานวิชาชีพ
(ง) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับใบอนุญาต
(ช) วิธีการสรรหา การเลือก การเลือกตั้ง และการแต่งตั้งคณะกรรมการคุรุสภา และคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(ค) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต
(ซ) องค์ประกอบ หลักเกณฑ์ วิธีการคัดเลือกคณะกรรมการสรรหา
(ข) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต และการรับรองความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ
(ฌ) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาเลขาธิการคุรุสภา
(ก) การกำหนดลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓
(ญ) การใดๆ ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้
(จ) จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสีย
(๑๒) ให้คำปรึกษาหรือเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
(๑๔) กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคุรุสภา
(๑๕) ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑๓) ให้คำแนะนำหรือเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
หรือการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศต่างๆ
มาตรา ๑๐
คุรุสภาอาจมีรายได้ ดังนี้
(๑) ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(๓) ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการด าเนินกิจการของคุรุสภา
(๔) เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อุทิศให้แก่คุรุสภา
(๕) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม
มาตรา ๘
คุรุสภามีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต ก ากับดูแลการปฏิบัติตาม
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
(๒) กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
(๓) ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๑๑
ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามประกาศของรัฐมนตรี ทั้งนี้ต้องไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๗
ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า “คุรุสภา” มีวัตถุประสงค์และ
อำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในก ากับของกระทรวงศึกษาธิการ
หมวด ๒
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ ๑
บททั่วไป
มาตรา ๖๔
ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาประกอบด้วย
(๑) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน
(๒) กรรมการโดยตำแหน่ง
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนสามคน
(๔) กรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา ๖๕
กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม มาตรา ๖๔ (๓) และ (๔) ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และ มาตรา ๑๕ แล้วแต่กรณี
มาตรา ๖๓
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีอำนาจและหน้าที่
ส่งเสริมให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาได้รับ
สวัสดิการต่างๆ ตามสมควร
ให้ความเห็น คำปรึกษา และคำแนะนำในเรื่องการส่งเสริมสวัสดิการสวัสดิภาพ
ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการบริหารงานสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ดำเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ สิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
มาตรา ๖๖
การประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ให้นำความในมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๖๒
ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ ศึกษาทำหน้าที่บริหารงานสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ ๒
ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๖๘
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีรายได้ ดังต่อไปนี้
(๒) เงินค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ
(๓) เงินผลประโยชน์ต่างๆ จากการลงทุน
(๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(๔) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่น
(๕) ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สิน
(๖) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (๒) (๓) (๔) และ (๕)
มาตรา ๖๙
ให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาคน หนึ่งบริหารกิจการของสำนักงาน
มาตรา ๖๗
ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๒) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ
ภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามอบหมาย
(๓) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการด าเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๑) รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๗๐
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา ต้องเป็นผู้สามารถทำงานให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ บุคลากรทางการศึกษาได้เต็มเวลา และต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๖
มาตรา ๗๑
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๗๒
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีอำนาจดังนี้
(๑) บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัยพนักงานเจ้าหน้าที่ตลอดจนให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกจากตำแหน่ง
(๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบ
มาตรา ๗๓
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้แทนของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา๗๔
ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
หมวด ๓
การกำกับดูแล
มาตรา ๗๖
ให้คุรุสภาเสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆ ของคุรุสภา รวมทั้งรายงานการเงินและบัญชี ตลอดจนเสนอแผนดำเนินงาน แผนการเงิน และงบประมาณของปีต่อไปต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา ๗๗
ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชี
ของคุรุสภาเป็นประจำทุกปี แล้วรายงานให้รัฐสภาทราบ
มาตรา ๗๕
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๒) สั่งเป็นหนังสือให้กรรมการชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภา และสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาและจะให้ส่งเอกสารเกี่ยวกับการ ดำเนินงานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ ภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาก็ได้
(๓) สั่งเป็นหนังสือให้คุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ บุคลากรทางการศึกษาระงับหรือแก้ไขการกระทำใดๆ ที่ปรากฏว่าขัดต่อวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
(๑) กำกับดูแลการดำเนินงานของคุรุสภาและส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด ๔
บทกำหนดโทษ
มาตรา ๗๘
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗๙
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๖ หรือมาตรา ๕๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับ
ไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้รับสนอง
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นางสาวอาวาติฟ บินมามะ
รหัสนักศึกษา 6220160459 เลขที่ 23